Page 181 - Phetchaburi
P. 181

4-19





                  ตารางที่ 4-2   ความตองการพัฒนาพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี


                  ลำดับที่   ปญหา/ความตองการ                         พื้นที่/แนวทางแกไข
                    1     ปญหาน้ำทวมและอุทกภัย    พบประจำ คืออำเภอเมืองเพชรบุรี อำเภอแกงกระจาน อำเภอเขายอย
                                                    อำเภอชะอำ อำเภอทายาง อำเภอบานลาด อำเภอบานแหลม และอำเภอ
                                                    หนองหญาปลอง ฝนตกหนักชวงเดือนกันยายน-ตุลาคม
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -เตรียมแผนบริหารจัดการน้ำ-รับมือน้ำทวม ในชวงฤดูน้ำหลาก
                                                       -เแกปญหาสิ่งกีดขวางทางน้ำกอนฝนหนักชวงเดือนกันยายน
                                                       -สงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
                                                    สิ่งแวดลอม
                                                       -พัฒนาสนับสนุนเครื่องมือเทคโนโลยีขอมูลขาวสาร ระบบเตือนภัย
                                                       - พื้นที่เกษตรปลูกพืชทดแทนชวงฤดูแลง (เชนขาวโพด ถั่วเขียว)
                    2     ปญหาน้ำปาไหลหลาก        พบวาพื้นที่เสี่ยงตอการเกิดดินโคลนถลมเปนจำนวน 45 หมูบาน มีความถี่ใน
                          และดินโคลนถลม            การเกิด 1 ครั้ง/ป พื้นที่อำเภอแกงกระจาน อำเภอชะอำ อำเภอทายาง และ
                                                    อำเภอหนองหญาปลอง (สำนักธรณีวิทยาสิ่งแวดลอม, 2559)
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -อนุรักษ และฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติใหมีความอุดมสมบูรณ
                                                       -ควบคุม ปองกัน ฟนฟูและเสริมสรางคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดี
                    3     ปญหาภัยแลงและขาดแคลนน้ำ   พบทุกอำเภอ ของจังหวัดเพชรบุรี มักเกิดขึ้นในชวงเดือนมกราคมถึง
                                                    พฤษภาคมของทุกป เนื่องจากสภาพภูมิอากาศรอนทำใหเกิดความแหงแลง
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -การจัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบบูรณาการ
                    4     แหลงน้ำเพื่อการเกษตรไมเพียงพอ  พบทุกอำเภอ ของจังหวัดเพชรบุรี
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -การจัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบบูรณาการ
                                                       -การบริหารจัดการแหลงน้ำอยางเปนระบบใหมีประสิทธิภาพสูง
                    5     ความตองการใชน น้ำเพื่อการ  จังหวัดเพชรบุรีมีความตองการใชน้ำ 26.41 ลานลูกบาศกเมตรตอป และจะเพิ่ม
                          อุปโภค-บริโภค             เปน 27.15 ลานลูกบาศกเมตรตอป 27.91 ลานลูกบาศกเมตรตอปและ 29.50
                                                    ลานลูกบาศกเมตรตอป ในระยะ 5 ป 10 ป และ 20 ป
                    6     ความตองการใชน้ำเพื่อ    จังหวัดเพชรบุรีมีความตองการใชน้ำ 933.08 ลานลูกบาศกเมตรตอป และ
                          การเกษตร                  จะเพิ่มเปน 1,015.59 ลานลูกบาศกเมตรตอป 1,024.36 ลานลูกบาศกเมตรตอป
                                                    และ 1,024.36 ลานลูกบาศกเมตรตอป ในระยะ 5 ป 10 ปและ 20 ป
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -จัดทำสระน้ำในไรนา
                    7     ความตองการใชน้ำเพื่อการ  จังหวัดเพชรบุรีมีความตองการใชน้ำ 28.18 ลานลูกบาศกเมตรตอป และจะ
                          อุตสาหกรรม                เพิ่มเปน 28.86 ลานลูกบาศกเมตรตอป 29.54 ลานลูกบาศกเมตรตอป และ
                                                    30.90 ลานลูกบาศกเมตรตอป  ในระยะ 5 ป10 ป และ 20 ป ตามลำดับ
   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186