Page 185 - Phetchaburi
P. 185

4-23





                  การจัดการทางดานสิ่งแวดลอมไดดีเพียงใด การประเมินสมรรถนะสภาพแวดลอมจะใช Pressure-State-

                  Response (PSR) เปนกรอบการทำงานหรือแนวทางที่ใชในการวางแผนพัฒนาสภาพแวดลอม โดยจะมี
                  การกำหนดตัวชี้วัดขึ้นมา 3 ประเภท คือ
                          แรงกดดัน (Pressure) ใชอธิบายกิจกรรมตางๆ ของมนุษยที่จะมีผลกระทบตอ

                  สภาพแวดลอม ที่เปนสาเหตุทำใหทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีสภาพเปลี่ยนแปลงไป ตัวอยางเชน
                  การคมนาคมขนสง การอุตสาหกรรม/เกษตรกรรม แบบแผนของการใชพลังงานอัตราการขยายตัวของรายได
                  ความหนาแนนของประชากร ตัวแปรตางๆ เหลานี้จะเปนภาวะกดดันที่ทำใหทรัพยากรธรรมชาติ
                  ตองรอยหรอและสิ่งแวดลอมตองเสื่อมโทรมลง ตัวอยางเชน การปลอยกาซเรือนกระจกของมนุษยซึ่งมี

                  ผลกระทบตอสภาพแวดลอม
                          สถานะภาพ (State) ใชอธิบายสภาพหรือสถานะของสภาพแวดลอมที่ตองการการแกไขหรือ
                  ปรับปรุงใหดีขึ้น หรือ ลักษณะทางกายภาพของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป
                  อันเนื่องมาจากปจจัยตางๆ ทั้งจากภาวะกดดัน และการตอบสนอง เชนคุณภาพน้ำ/อากาศ พื้นที่ปา

                  การพังทลายของหนาดิน ความอุดมสมบูรณของระบบนิเวศ ความเขมขนของกาซเรือนกระจกใน
                  ชั้นบรรยากาศของโลกซึ่งบงบอกถึงสภาพแวดลอม เปนตน
                          การตอบสนอง (Response) ใชวัดระดับการตอบสนองของสังคมที่มีตอสถานภาพ
                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนการตอบสนองจากภาครัฐ เอกชน/องคกร และประชาชน

                  ตัวอยางเชน การออกนโยบายหรือมาตรการตางๆ ของภาครัฐ เพื่อลดปญหาทรัพยากร ธรรมชาติและ
                  สิ่งแวดลอมไมทางตรงก็ทางออม สิ่งที่มนุษยจะตองกระทำเพื่อแกไขหรือปรับปรุงกิจกรรมเกาๆ ใหดีขึ้น
                  ตัวอยางเชน การเก็บภาษีกาซเรือนกระจกเพื่อบังคับใหทุกคนลดการปลอยกาซเรือนกระจกตอมาไดมี
                  การพัฒนาปรับปรุงกรอบการทำงานของ EPA จาก PSR เดิม โดยเพิ่มตัวชี้วัดตัวที่สี่ขึ้นมา คือ ผลกระทบ

                  (Impact indicators) เรียกวา กรอบแนวคิด Pressure-State-Impact-Response Framework (PSIR) และ
                  ไดเพิ่มตัวชี้วัดตัวที่หาคือ ตัวขับเคลื่อน (Driver) จากนั้นก็นำเอาตัวชี้วัดทั้งหาประเภทมารวมเขาไวดวยกัน
                  เรียกวา กรอบแนวคิด Driver-Pressure State-Impact-Response Framework (DPSIR) ซึ่งก็คือการแบง
                  ตัวชี้วัด แรงกดดัน (Pressure) เดิมออกเปน ตัวขับเคลื่อน (Driver) และ แรงกดดัน (Pressure) และ

                  แบงตัวชี้วัดสถานะภาพ (State) เดิมออกเปน สถานะภาพ (State) และ ผลกระทบ (Impact) ทั้งนี้ เพื่อให
                  เห็นขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจนขึ้นนั่นเอง
                          ตัวขับเคลื่อน (Driver) คือ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่จะมีผลกระทบกับ แรงกดดัน

                  (Pressure) ตัวขับเคลื่อน เปนสิ่งที่สามารถวัดเปน ปริมาณหรือตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจได ตัวอยางเชน
                  การเติบโตของประชากร, การเติบโตทางเศรษฐกิจ หรือ ความกาวหนาของเทคโนโลยี เปนตน
                          ผลกระทบ (Impact) คือ ผลลัพธที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม
                  ตัวอยางเชน การเสื่อมของดินจะทำใหผลผลิตทางการ เกษตรลดต่ำลง เปนตน
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190