Page 183 - Phetchaburi
P. 183

4-21





                  ตารางที่ 4-2   (ตอ)


                  ลำดับที่   ปญหา/ความตองการ                         พื้นที่/แนวทางแกไข
                    14    โรคใบดางถั่วเขียว        พบโรคไดในทุกระยะการเจริญเติบโตของถั่วเขียว เกิดจากเชื้อไวรัส 2วงศ
                                                    (Families) ไดแก Geminiviridae : Geminivirus และ Potyviridae : Potyvirus
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -ใชเมล็ดพันธุสะอาดปราศจากโรค
                                                       - ตรวจแปลงปลูกอยางสม่ำเสมอ เมื่อพบตนที่เปนโรค ถอนแลวนำไป
                                                    ทำลายนอกแปลงปลูก
                                                       -ปรับเปลี่ยนผลิตแบบเกษตรอินทรีย
                    15    การขาดองคความรูในการเพิ่ม  การขาดองคความรูในการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพดานการเกษตร
                          ผลผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพ
                          ดานการเกษตร              แนวทางการจัดการ (สำนักงานเกษตรและสหกรณจังหวัดเพชรบุรี, 2562)
                                                       -เกษตรกรมีขอมูลขาวสารและความรูความสามารถทันสถานการณ
                                                    พึ่งพาตนเองได และสถาบันเกษตรกรเปนกลไกหลักขับเคลื่อนภาค
                                                    การเกษตร ดวยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                                                       -ตลาดนำกระบวนการผลิต และสินคาเกษตรมีคุณภาพ มาตรฐานความ
                                                    ปลอดภัยภาคการเกษตร เติบโตอยางยั่งยืน ดวยงานวิจัย เทคโนโลยี/
                                                    นวัตกรรม สามารถประยุกตกับองคความรู
                                                    และภูมิปญญาทองถิ่น
                                                       -พื้นที่เกษตรมีการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ และปรับเปลี่ยน
                                                    การผลิตใหเหมาะสมกับศักยภาพพื้นที่ ดวยเทคโนโลยี/นวัตกรรม อาทิ
                                                    Agri-Map และ Application เปนตน
                    16    ปญหาผลผลิตดานการประมง   การขาดองคความรูในการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มประสิทธิภาพดานการประมง
                          เสียหาย                   แนวทางการจัดการ
                          -กุงขาว - ตางประเทศตองการกุง    -การพัฒนาอาชีพเกษตรกรใหมีศักยภาพเขาสูการเปน Smart Farmer
                          ไซสขนาดใหญปจจุบันเกษตรกร  สามารถนำความรูไปปรับใชในการประกอบอาชีพการประมง เพื่อเพิ่ม
                          ตองลดตนทุนผลิตกุงไซสเล็ก จึง  ประสิทธิภาพดานการผลิต การแปรรูป และการตลาด
                          ไมเปนที่ตองการของตลาดตาง      -บริหารระบบชลประทานเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำเพื่อจัดระบบสิ่งแวดลอมที่ดี
                          -ปลากะพง-ผลผลิตที่ไดเปนปลา     -การเพิ่มขีดความสามารถดานการผลิตและการตลาดกุงทะเลเพื่อการบริโภค
                          กะพงขนาดใหญซึ่งไมเปนที่   ภายในประเทศ
                          ตองการของลาดในประเทศ     - สงเสริมบริโภคปลากะพงในประเทศ
                    17    ปญหาดานน้ำเสีย          -น้ำเสียจากการฟารมหมูจังหวัดราชบุรีไหลผานจังหวัดสงคราม มาลงปากทะเล
                          (ผลกระทบขามพรมแดน)       บางตะบูน พื้นที่บางตะบูนประกอบอาชีพเกษตรกร เพาะเลี้ยงชายฝง ประมง
                                                    ชายฝง การเพาะเลี้ยงหอยแครง หอยแมลงภู กุง ตาย เนื่องจากน้ำเสีย ทำให
                                                    เกษตรกรขาดทุนและเปนหนี้ และเกิดการรั่วไหลของโรงงานที่ผลิตเอทานอล
                                                    แนวทางการจัดการ
                                                       -ใหมีการจัดทำบอบำบัดน้ำเสียพื้นที่อำเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี
                                                       -ชวยเหลือฟนฟู แหลงเพาะเลี้ยงหอยแครงที่ ในพื้นที่ตำบลบางตะบูน อำเภอ
                                                    บานแหลม จังหวัดเพชรบุรี (สำนักงานประมงจังหวัดเพชรบุรี, 2564)
   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188