Page 175 - Phetchaburi
P. 175

4-13





                  ทำใหเกิดความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ เชน น้ำทวมในฤดูฝน และแหงแลงจัดในฤดูแลง ดังที่ปรากฏ

                  อยูในปจจุบัน จากสภาพความเสื่อมโทรม และการลดลงของทรัพยากรปาไม กอใหเกิดภัยพิบัติตางๆ ที่รุนแรง
                  หากไมดำเนินการ อนุรักษ ฟนฟู และปองกันรักษาทรัพยากรปาไมใหเกิดความสมดุล ก็จะเกิดภัยพิบัติ

                  ที่รุนแรงขึ้น ซึ่งจะกอใหเกิดความเสียหาย ตอเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ที่รุนแรงขึ้นในอนาคต สงผล
                  ตอความมั่นคงในระดับประเทศ ตอไป (1) อนุรักษและฟนฟูทรัพยากรปาไมและสัตวปา (2) อนุรักษและ

                  ฟนฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝง โดยการฟนฟูอาวไทย (3) จัดระบบอนุรักษดินและน้ำอยางเหมาะสม
                  ปลูกหญาแฝกที่พื้นที่เสี่ยงภัยดินถลม (4) สรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในการใชประโยชน

                  ที่ดินแลทรัพยากรธรรมชาติ โดยการปฏิรูปการจัดการที่ดินโดยใหมีการกระจายสิทธิที่ดินอยางเปนธรรม
                  และยั่งยืนโดย ใชมาตรการทางภาษีและจัดตั้งธนาคาร (5) สงเสริมและสรางความตระหนักและจิตสำนึก
                  ทางดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (6) สงเสริมใหมีการบริหารจัดการน้ำอยางบูรณาการ

                  (7) สรางภูมิคุมกันและเตรียมความพรอมในการรองรับและปรับตัวตอผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของ
                  สภาพภูมิอากาศและพิบัติภัยธรรมชาติ (8) พัฒนาองคความรูในการบริหารจัดการดานทรัพยากรธรรมชาติ

                  และสิ่งแวดลอม การบริหารจัดการทรัพยากรโดยไดกำหนดนโยบายการพัฒนาความยั่งยืน นโยบายการ
                  จัดการพลังงานที่ยั่งยืน และนโยบายการจัดการสิ่งแวดลอม และกำหนดเปาหมายดานสิ่งแวดลอม

                  และพลังงาน ครอบคลุมถึงสงเสริมการใชทรัพยากรใหมีประสิทธิภาพสูงสุดรวมถึงกิจกรรมรณรงคตางๆ
                  ทั้งการปลอยกาซเรือนกระจก การใชทรัพยากรน้ำ การใชพลังงาน การลดปริมาณน้ำทิ้ง ขยะ มลพิษและ

                  ของเสียจากกหวงโซคุณคาของธุรกิจใหความสำคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ที่เกิด
                  จากการนำความรู ทักษะ การประยุกตใชวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่กอใหเกิดความสมดุล
                  ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอมมุงเนนการยกระดับสูการดำเนินเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (EOE: Eco

                  Operation Excellence) โดยสรางการเติบโตเชิงเศรษฐกิจ (Economic Growth) ควบคูไปกับการลด
                  ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม หรือการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ (Reduce Environmental Impact

                  or Efficiency Consumption) ควรตระหนักตอผลกระทบสิ่งแวดลอมตลอดหวงโซคุณคา (Value chain)
                  ตามเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) สอดคลองกับ

                  แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2565 - 2569) ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                  นโยบายปาไมแหงชาติ (อนุกรรมการจัดทำนโยบายปาไมแหงชาติและแผนแมบทพัฒนาการปาไมแหงชาติ

                  แผนแมบทการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) (สำนักงานทรัพยากรน้ำแหงชาติ)
                  แผนจัดการมลพิษ พ.ศ. 2560 – 2564 (กรมควบคุมมลพิษ) แผนแมบทรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพ
                  ภูมิอากาศ พ.ศ. 2558 – 2593 (สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม) นโยบาย

                  และแผนการสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2560 – 2580 (สำนักงานนโยบายและ
                  แผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม) แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2560 – 2565 (สำนักงาน

                  นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม) แผนปฏิบัติการลดกาซเรือนกระจกของประเทศ
                  ป พ.ศ. 2564 – 2573 รายสาขา (สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม)

                  แผนแมบทบูรณาการจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ พ.ศ. 2558-2564 และแผนปฏิบัติการจัดการ
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180