Page 168 - Phetchaburi
P. 168

4-6





                  ปาไม และประมง) คิดเปนรอยละ 8.70 ของมูลคาผลผลิตมวลรวมของกลุมจังหวัด โดยเฉพาะจังหวัด

                  เพชรบุรี จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดประจวบคีรีขันธ ที่มีสัดสวนมูลคาการผลิตภาคเกษตร
                  (การเกษตรกรรม ปาไมและประมง) สูงกวาคาเฉลี่ยของประเทศ
                          ประเด็นยุทธศาสตรการพัฒนาที่สำคัญ

                          ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 เสริมสรางและพัฒนาตนทุนทางทรัพยากรภาคการเกษตร โดยเนน
                  บริหารจัดการและฟนฟูทรัพยากรสัตวน้ำใหคงความอุดมสมบูรณและพัฒนาระบบการผลิตและการจัดการ
                  สินคาดานการเกษตร และการพัฒนาขีดความสามารถในการกำจัดแมลงศัตรูพืช อันเปนปญหาสำคัญ
                  ของกลุมจังหวัด ตลอดทั้งการถายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชปลอดภัยใหแกเกษตรกร รวมถึงพัฒนา

                  ระบบโครงสรางพื้นฐาน เพื่อสนับสนุนการผลิตที่เชื่อมโยงการคาและการลงทุน ซึ่งการสรางตนทุน
                  ดังกลาวจะทำใหเกิด “ฐาน” ที่จะกอใหเกิดทั้งขอไดเปรียบทางการแขงขันดานการลงทุน และเปน
                  “ฐาน” เพื่อการสรางรายไดใหแกประชาชนในพื้นที่กลุมจังหวัด
                           แนวทางการพัฒนา

                           แนวทางการพัฒนาที่ 1.1 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและการฟนฟูทรัพยากรทางการเกษตร
                  ใหคงความอุดมสมบูรณ
                           แนวทางการพัฒนาที่ 1.2 พัฒนาระบบการผลิตและการจัดการสินคาดานการเกษตร

                          ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและศักยภาพสินคาและบริการเพื่อการทองเที่ยว
                  การคาและพื้นที่ทางเศรษฐกิจ โดยเนนหนักการเพิ่มศักยภาพทางการคาการทองเที่ยวและเชื่อมโยงพื้นที่

                  เศรษฐกิจ และสรางความสัมพันธทางการคาการลงทุน และการทองเที่ยวกับประเทศเพื่อนบาน รวมถึง
                  การเสริมสรางศักยภาพแรงงาน ทั้งในและนอกระบบ การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในภาคสวนที่
                  เกี่ยวของพัฒนาตัวสินคาและบริการ รวมถึงการเพิ่มศักยภาพและชองทางการตลาด เพื่อเปนฐานใน
                  การสรางรายไดจากการทองเที่ยวสินคาบริการและผลิตภัณฑของกลุมจังหวัดฯ

                          แนวทางการพัฒนา
                          แนวทางการพัฒนาที่ 2.1 พัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการผลิตที่เชื่อมโยง
                  การคาการลงทุนและการทองเที่ยว

                          แนวทางการพัฒนาที่ 2.2 พัฒนาศักยภาพสินคาและบริการดานการทองเที่ยวของกลุมจังหวัด
                          ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยมุงเนนการปองกัน

                  การกัดเซาะชายฝงดวยวิธีที่เหมาะสมของแตละพื้นที่ ไดแก การปกไมไผชะลอคลื่นในพื้นที่จังหวัดสมุทรสาคร
                  และจังหวัดสมุทรสงคราม การสรางเขื่อนกันทรายและคลื่นในพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี และการเรียงหินใหญ
                  กันคลื่นในพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ ซึ่งการกัดเซาะชายฝงทะเลเปนการสูญเสียดินแดน

                  ทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยสินของประชาชน ราชการ และนักลงทุน ตลอดทั้งกอใหเกิดการทำลาย
                  ทรัพยากรการทองเที่ยว ซึ่งสงผลกระทบทั้งความมั่นคงเศรษฐกิจสังคม และสิ่งแวดลอม จึงมีความจำเปน
                  จะตองหยุดการกัดเซาะใหมีประสิทธิผล รวมทั้งการเพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการทรัพยากร
                  ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทั้งนี้เพื่อรักษา “ฐาน” ของการลงทุนและสรางรายไดในพื้นที่
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173