Page 165 - Phetchaburi
P. 165

4-3





                                ประเด็นยอยที่ 2.2 สงเสริมการใชประโยชนที่ดินใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยมีเปาหมาย

                  คือ 1) พื้นที่ทางการเกษตรมีการใชประโยชนที่ดินที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยมีการขยายพื้นที่
                  เขตเกษตรอินทรียอยางเปนรูปธรรม และ 2) พื้นที่การเกษตรในพื้นที่เสี่ยงตอการชะลางพังทลายของดิน
                  มีการใชประโยชนที่ดินอยางเหมาะสมและไมเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

                      4.1.5 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
                             พระราชบัญญัติสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พ.ศ. 2561 มาตรา 28
                  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติตามประกาศพระราชโองการ เรื่องแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

                  สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560- 2564) ลงวันที่ 29 ธันวาคม พุทธศักราช 2559 ที่ใชอยูใน
                  วันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหถือวาเปนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติตาม
                  พระราชบัญญัตินี้ และใหยังคงใชไดตอไปจนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2565เพื่อใหสอดคลองกรอบ

                  ระยะเวลากับยุทธศาสตรชาติ ระยะที่ 1 สิ้นสุดในป 2565 (สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2561)
                  มีแนวทางการพัฒนาที่เกี่ยวของ ดังนี้ (สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ,2561)
                                  ยุทธศาสตรที่ 3 การสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยางยั่งยืน โดยมุงเนน
                  การเสริมสรางและพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของภาคการผลิตและบริการ ซึ่งมีแนวทางการ

                  พัฒนาหลักที่เกี่ยวของ ไดแก การพัฒนาภาคการเกษตร ดวยการ 1) เสริมสรางฐานการผลิตภาคเกษตร
                  ใหเขมแข็งและยั่งยืน โดยพัฒนาและบำรุงรักษาแหลงน้ำเพื่อการเกษตรรวมทั้งจัดระบบการปลูกพืชให
                  สอดคลองปริมาณน้ำที่หาได และคุมครองพื้นที่เกษตรกรรมที่มีศักยภาพและขยายโอกาสในการเขาถึง
                  พื้นที่ทำกินของเกษตรกรใหมากขึ้น 2) สรางและถายทอดองคความรูทางวิชาการ วิทยาศาสตร

                  เทคโนโลยี และนวัตกรรม และภูมิปญญาทองถิ่นดานการเกษตรแบบมีสวนรวม โดยใหความสำคัญกับ
                  การพัฒนารูปแบบและกระบวนการถายทอดความรูเพื่อปรับระบบการผลิตที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่
                  และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศใหแกเกษตรกรอยางเปนรูปธรรม อาทิ การจัดทำแปลง
                  ตนแบบผานศูนยเรียนรูและศูนยถายทอดเทคโนโลยีในแตละพื้นที่ 3) เสริมสรางขีดความสามารถ

                  การผลิตในหวงโซอุตสาหกรรมเกษตร โดยสงเสริมใหเกษตรกรผลิตพืช ปศุสัตว และการทำประมง
                  ใหสอดคลองกับศักยภาพพื้นที่และความตองการของตลาด (Zoning) 4) สงเสริมและเรงขยายผล
                  แนวคิดการทำการเกษตรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมุงเนนการสงเสริมใหเกษตรกร

                  มีสวนรวมในการกำหนดนโยบายการเกษตรยั่งยืน ทั้งในรูปแบบเกษตรทฤษฎีใหม เกษตรผสมผสาน
                  วนเกษตร เกษตรอินทรีย เกษตรธรรมชาติ ควบคุมการใชสารเคมีการเกษตรที่เปนอันตรายตอสุขภาพ
                  และสิ่งแวดลอมอยางเครงครัด และ 5) พัฒนาปจจัยสนับสนุนในการบริการจัดการภาคเกษตรและ
                  สนับสนุนเกษตรกรรุนใหม โดยการพัฒนาฐานขอมูลดานอุปสงคและอุปทานดานการเกษตร สรางบุคลากร
                  ดานการเกษตร ดวยการผลิตเกษตรกรรุนใหมหรือดำเนินนโยบายบัณฑิตคืนถิ่น การจัดทำหลักสูตร

                  การศึกษาที่เนนการเรียนรูจากภาคปฏิบัติเพื่อสรางเกษตรกรที่มีความรูและมีความสามารถในการยกระดับ
                  การผลิต แปรรูปการตลาดและการบริหารจัดการที่สามารถปรับตัวไดทันตามการเปลี่ยนแปลงของโลก
                  และการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการเกษตรใหทันสมัย

                                  ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการเติบโตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน มุงเนน
                  การสงเสริมการผลิตและการบริโภคที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โดยเนนการบริหารจัดการทรัพยากร
                  อยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ภายใตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชแนวคิดตลอดวัฎจักรชีวิต
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170