Page 166 - Phetchaburi
P. 166

4-4





                  ซึ่งมีแนวทางการพัฒนาหลัก คือ การสนับสนุนการผลิตภาคการเกษตรไปสูเกษตรกรรมที่ยั่งยืน

                  โดยสนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตจากพืชเชิงเดี่ยวไปสูเกษตรกรรมยั่งยืน อาทิ เกษตรธรรมชาติ
                  เกษตรผสมผสาน เกษตรอินทรีย วนเกษตร และเกษตรทฤษฎีใหม สนับสนุนการพัฒนาปุยอินทรีย
                  การใชวัสดุอินทรียและการใชผลิตภัณฑชีวภาพทดแทนการใชสารเคมีการเกษตร สนับสนุนงานวิจัยและ

                  จัดทำพื้นที่ตนแบบ เพื่อสาธิตการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม จัดใหมีแหลงทุน
                  และกลไกทางการตลาด เพื่อสรางแรงจูงใจในการปรับรูปแบบการทำการเกษตรใหเปนมิตรกับ
                  สิ่งแวดลอมพัฒนาระบบการรับรองมาตรฐานและการตรวจสอบคุณภาพสินคาเกษตรอินทรีย สินคาเกษตร
                  ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ควบคูไปกับการพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยของสินคาเกษตร เพื่อสราง

                  ความมั่นใจใหกับผูบริโภค ตลอดจนศึกษาความเหมาะสมในการยกระดับมาตรฐานสินคาเกษตรเหลานี้
                  ใหเปน (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ , 2559) มาตรการเชิงบังคับ
                  ขยายผลแนวคิดการทำการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนใหมีกระบวนการเรียนรู
                  รวมกันและผลักดันสูกระบวนการทำเกษตรกรรมยั่งยืนอยางตอเนื่อง

                      4.1.6 นโยบายและแผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดินของประเทศ (พ.ศ. 2560-
                  2579) มียุทธศาสตรและกลยุทธที่เกี่ยวของ ดังนี้

                                  ยุทธศาสตรที่ 2 ดานการใชที่ดินและทรัพยากรดินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด มีกลยุทธหลัก
                  ไดแก 1) การเพิ่มประสิทธิภาพการใชประโยชนที่ดินของรัฐและเอกชนใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยมุงเนน
                  การวางแผนกำหนดเปาหมาย และสัดสวนของการใชประโยชนที่ดินของประเทศ ใหมีความเหมาะสม
                  อยางเปนระบบ ตามศักยภาพของที่ดินและสมรรถนะของดิน โดยครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศ การจัดให

                  มีการวางผังเมืองในทุกระดับ โดยใหความสำคัญกับการมีสวนรวมของประชาชนและบังคับใชกฎหมายที่
                  เกี่ยวของใหมีประสิทธิภาพเปนไปตามหลักการทางวิชาการ การกำหนดเขตและมาตรการใชประโยชน
                  ที่ดินทั้งในระดับประเทศ ระดับลุมน้ำและระดับจังหวัด ใหมีความสัมพันธและสอดคลองกัน การกำกับ
                  ควบคุมการถือครองที่ดินของประเทศ ใหมีการกระจายถือครองที่ดินอยางเปนธรรม ขอคืนพื้นที่ที่ไมได

                  ใชประโยชนเพื่อนำมาใชประโยชนสาธารณะ รวมทั้งปองกันการถือครองที่ดินของคนตางชาติ
                  และนิติบุคคลตางดาว โดยมิชอบดวยกฎหมาย และการสงเสริม สนับสนุนใหมีการนำที่ดินรกรางวางเปลา
                  หรือไมไดใชประโยชนกลับมาใชประโยชน โดยการมีสวนรวมของชุมชนและทองถิ่น เพื่อใหเกิดมูลคาเพิ่ม

                  ทางเศรษฐกิจโดยใชกลไกประชารัฐ 2) การเสริมสรางฐานการผลิตภาคเกษตรกรรมใหเขมแข็งและยั่งยืน
                  เพื่อสรางความมั่นคงทางอาหาร โดยมุงเนนการกำหนดพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) โดยการวางผังจัดรูปที่ดิน
                  จัดระบบชลประทาน จัดสรางถนนหรือทางลำเลียงในไรนา ปรับระดับพื้นที่ บำรุงดิน วางแผนการผลิต
                  และจำหนายผลิตผลทางการเกษตรที่มีความเหมาะสมกับสภาพของแตละพื้นที่ การพัฒนาศักยภาพ
                  พื้นที่เกษตรกรรมในการเพิ่มปริมาณผลผลิตและลดตนทุนโดยอาศัยองคความรูทางวิชาการดาน

                  การเกษตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม เทคโนโลยีและนวัตกรรม การสงเสริม สนับสนุน การปรับเปลี่ยน
                  กระบวนการผลิตจากพืชเชิงเดี่ยว ไปสูรูปแบบเกษตรกรรมยั่งยืนที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเกื้อกูลกับ
                  ระบบนิเวศและสอดคลองกับการอนุรักษดินและน้ำ การฟนฟู ปรับปรุง คุณภาพดินที่เสื่อมโทรม

                  ขาดความอุดมสมบูรณและแกไขปญหาการชะลางพังทลายของดินเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวยในการทำ
                  การเกษตร และเสริมสรางความมั่นคงทางอาหาร การคุมครองพื้นที่เกษตรกรรมที่มีศักยภาพและขยาย
                  โอกาสในการเขาถึงพื้นที่ทำกินของเกษตรกรใหมากขึ้น เพื่อใหเปนฐานการผลิตการเกษตรที่ยั่งยืน และ
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171