Page 167 - Phetchaburi
P. 167

4-5





                  การสรางกลไกการปองกันและแกไขปญหาการสูญเสียสิทธิในที่ดินเกษตรกรรม เพื่อรักษาฐานการผลิต

                  ภาคเกษตรใหเขมแข็งและยั่งยืน และ 3) การเตรียมความพรอมในการปรับตัวดานการใชประโยชนที่ดิน
                  และทรัพยากรดินตอผลกระทบและภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พื้นที่ที่ไดรับความเสี่ยง
                  จากการเกิดภัยธรรมชาติที่อาจจะเกิดขึ้น โดยมุงเนนการคาดการณ และประเมินผลกระทบที่อาจจะ

                  เกิดขึ้นในที่ดินหรือทรัพยากรดินจากการเปลี่ยนแปลสภาพภูมิอากาศ หรือภัยธรรมชาติและการกำหนด
                  แนวทางในการรับมือ ปองกัน แกไขปญหา กำหนดมาตรการชวยเหลือที่เหมาะสม ในพื้นที่ที่ไดรับ
                  ผลกระทบและภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พื้นที่ที่ไดรับความเสี่ยงจากการเกิดภัย
                  ธรรมชาติที่อาจจะเกิดขึ้น โดยมีการบูรณาการรวมกันของทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ

                                  ยุทธศาสตรที่ 4 ดานการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน มีกลยุทธหลัก ไดแก
                  1) พัฒนาเครื่องมือ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน ใหเกิดประโยชนสูงสุด
                  และเปนธรรมโดยมุงเนนการพัฒนาปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบขอบังคับ ที่เกี่ยวของกับการบริหาร
                  จัดการที่ดินและทรัพยากรดิน รวมทั้งผลักดันใหมีผลบังคับใชอยางมีประสิทธิภาพ การสงเสริมการนำ

                  เทคโนโลยีนวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพมาใชในการบริหารจัดการที่ดิน และทรัพยากรดิน การเรงรัด
                  พัฒนาระบบฐานขอมูลที่ดินและทรัพยากรดิน การจัดทำแผนที่กำหนดแนวเขต ที่ดินของรัฐ โดยมี
                  กฎหมายรองรับ มีมาตรการทางการเงิน การคลัง เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน
                  ใหเกิดประโยชนสูงสุดและเปนธรรม และ 2) การพัฒนาองคความรูดานการบริหารจัดการที่ดินและ

                  ทรัพยากรดิน โดยมุงเนนการสงเสริมสนับสนุนศึกษาวิจัยและการพัฒนาเกี่ยวกับที่ดินและทรัพยากรดิน
                  โดยมีแผนงานการวิจัยที่เปนระบบ รวมทั้งเผยแพรประชาสัมพันธงานวิจัยอยางตอเนื่อง เพื่อผลักดัน
                  ผลงานการวิจัยไปสูการปฏิบัติ และการพัฒนาการถายทอดองคความรูดานการบริหารจัดการที่ดินและ
                  ทรัพยากรดิน ทั้งในประเทศและระหวางประเทศ

                          4.1.7 แผนพัฒนากลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง 2 (พ.ศ.2561-2565) ฉบับทบทวน

                          วิสัยทัศนกลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง 2
                           “เปนฐานการผลิตภาคการเกษตรและอาหารปลอดภัยอุตสาหกรรมที่เปนมิตรตอ
                  สิ่งแวดลอมแหลงทองเที่ยวชั้นนาเชิงธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรมอันทรงคุณคา”

                          กลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง 2 มีศักยภาพทางการทองเที่ยวสูงและหลากหลาย ทั้งดาน
                  การทองเที่ยวเชิงนิเวศและเชิงวัฒนธรรม รวมไปถึงกิจกรรมการทองเที่ยวตางๆ ทั้งยังเดินทางไมไกลจาก
                  กรุงเทพฯ พื้นที่ในกลุมจังหวัดโดยเฉพาะเขตพื้นที่อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และอำเภอหัวหิน
                  จังหวัดประจวบคีรีขันธ ไดรับความสนใจจากกลุมทุนขนาดใหญที่มาลงทุนทำธุรกิจดานการทองเที่ยว
                  และอสังหาริมทรัพยเปนจำนวนมาก ทำใหเกิดแหลงทองเที่ยวใหมๆ รวมไปถึงโครงการดาน

                  อสังหาริมทรัพยขนาดใหญทั้งคอนโดมิเนียมและโครงการบานจัดสรรในพื้นที่ จึงเปนอีกปจจัยสำคัญที่จะ
                  ชวยสนับสนุนใหกลุมจังหวัดภาคกลางตอนลาง 2 มีความโดดเดนและความนาสนใจในเรื่องการทองเที่ยว
                  มากยิ่งขึ้น

                          และดวยลักษณะภูมิประเทศของกลุมจังหวัดที่มีความหลากหลายของดิน และติดทะเล
                  ทุกจังหวัดทำใหลักษณะการเกษตรที่สำคัญของกลุมจังหวัดสามารถแบงไดเปน 2 ประเภท คือ
                  การเกษตรเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ และการประมง โดยจากขอมูลผลิตภัณฑมวลรวมรายภูมิภาค
                  (Gross Regional Product : GRP) ป พ.ศ. 2559 พบวา มูลคาการผลิตภาคการเกษตร (การเกษตรกรรม
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172