Page 190 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 190

ผ-31





                            (3.6)  กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย ดําเนินเรื่องกฎกระทรวง รองรับ

                  “ไมยืนตนที่มีมูลคาทางเศรษฐกิจ”  เปนหลักประกันทางธุรกิจ พรอมผลักดันกฎหมายที่เกี่ยวของกับ
                  การสงเสริมใหประชาชนปลูกไมยืนตนมูลคาสูงในที่ดินกรรมสิทธิ์ เพื่อการออมและสรางมูลคา
                  ทางเศรษฐกิจ

                            (3.7)  กรมอุทยานแหงชาติ     สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
                  และสิ่งแวดลอม ดําเนินการสงเสริม กระตุน และปลุกจิตสํานึกใหประชาชน/ชุมชน มีความรูสึกหวงแหน
                  และการมีสวนรวมในการดูแลทรัพยากรทองถิ่น เพื่อเปนการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
                  และสิ่งแวดลอม ตลอดจนความหลากหลายทางชีวภาพ
                            (3.8)  สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง ดําเนินการเสนอแนะนโยบาย

                  ดานเศรษฐกิจใหเจริญเติบโตและพัฒนาเศรษฐกิจอยางทั่วถึง และมีศักยภาพในการแขงขัน
                            (3.9)  สมาคมธนาคารไทย ดําเนินการเรื่องความเหมาะสมของการนํา “ไมยืนตนที่มีมูลคา
                  ทางเศรษฐกิจ” เปนหลักประกันทางธุรกิจกับธนาคาร

                            (3.10)  สมาคมธุรกิจไม สนับสนุนเรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑ และการรับซื้อไมแปรรูป
                            (3.11)  องคการอุตสาหกรรมปาไม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                  ดําเนินการเรื่องการตลาดและสงออกไมแปรรูป และรวมจัดทําเกณฑมาตรฐานการประเมินมูลคาไม
                            (3.12)  กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ กําหนดและกํากับดูแลมาตรฐาน

                  กระบวนการปลูกไมมีคา และพัฒนาระบบตรวจสอบพันธุไม
                            (3.13)  กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ การปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่
                  และการใชประโยชนที่ดิน การจัดการที่ดินเพื่อสรางมูลคาเพิ่มและลดตนทุนการปลูก ศึกษา วิเคราะห
                  และจัดทําสํามะโนที่ดิน เพื่อเปนขอมูลในการวางแผนการใชที่ดิน

                            (3.14)  กรมสงเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ สงเสริมและพัฒนาเกษตรกร
                  และเครือขายชุมชนใหมีความพรอมในการเพาะปลูก ใหคําปรึกษาในการดูแลรักษาตนไม พรอมทั้ง
                  ศึกษา วิจัย และ จดธนบัตรตนไม
                            (3.15)  สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ดําเนินการนํามาตรฐานการจัดการสวนปาไม

                  เศรษฐกิจอยางยั่งยืน (มอก.14061) และมาตรฐานหวงโซการควบคุมผลิตภัณฑจากปาไม (มอก.2861)
                  ซึ่งเปนมาตรฐานชาติ ประกาศโดยกระทรวงอุตสาหกรรม เขาเทียบเคียงกับมาตรฐานสากล PEFC
                  (Program  for  the  Endorsement  of  Forest  Certification)  เพื่อขยายการเขาถึงตลาดการคาไม

                  และผลิตภัณฑจากไมสูตางประเทศ ซึ่งในการรับรองดังกลาวนี้ ยังครอบคลุมไปถึงการรับรองการจัดการ
                  สวนปาไมเศรษฐกิจอยางยั่งยืนแบบกลุม อันจะชวยเพิ่มศักยภาพใหแกเกษตรกรรายยอยในโครงการ
                  ชุมชนไมมีคาไดเขาสูการสงออกไมไดอีกทางดวย
                            เพื่อรองรับการดําเนินงานตามมติดังกลาว ไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติปาไม
                  (ฉบับที่ 8) พุทธศักราช 2562 ในราชกิจจานุเบกษา เลม 136 ตอน 50ก ลงวันที่ 16 เมษายน 2562

                  โดยมีบทบัญญัติมาตรา 4 บัญญัติไว ดังนี้
                            มาตรา 4 ใหยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา 7 แหงพระราชบัญญัติปาไม พุทธศักราช
                  2484 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยประกาศคณะรักษาความสงบแหงชาติ ฉบับที่ 106/2557 เรื่อง แกไขเพิ่มเติม

                  กฎหมายวาดวยปาไม ลงวันที่ 21 กรกฎาคม พุทธศักราช 2557 และใหใชความตอไปนี้แทน
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194