Page 189 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 189

ผ-30





                        ยุทธศาสตรที่ 7 การพัฒนาระบบการรับรองปาไม เนนการพัฒนาระบบการรับรองปาไม

                  เตรียมความพรอมองคกรรับรอง อบรมเกษตรกร ผูประกอบการ เพื่อรับการตรวจรับรอง
                  (www.facebook.com/greennewsagency/posts/1822782574461738)
                        เมื่อ วันที่ 18 กันยายน 2561 คณะรัฐมนตรีไดมีมติ เรื่อง “การขับเคลื่อนโครงการชุมชนไมมีคา”

                  โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้
                        (1)  เปาหมายการขับเคลื่อนโครงการชุมชนไมมีคา
                            (1.1)  เกิดชุมชนไมมีคา 20,000 ชุมชน ใน 10 ป มีประชากร 2,600,000 ครัวเรือน
                  โดยปลูกครัวเรือนละ 400 ตน มีจํานวนตนไม 1,040 ลานตน จะไดพื้นที่ปาเพิ่มขึ้น 26 ลานไร ซึ่งจะเกิด
                  มูลคาทางเศรษฐกิจ 1,040,000 ลานบาท

                            (1.2)  มีรางกฎหมาย กฎ หรือระเบียบที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานโครงการชุมชนไมมีคา
                  เพื่อนําไปสูผลสัมฤทธิ์
                        (2)  วัตถุประสงค

                            (2.1)  สรางอาชีพที่ยั่งยืน มั่นคง ดวยการทําชุมชนไมมีคาบนพื้นฐานของหลักปรัชญาของ
                  เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม
                            (2.2)  เพิ่มพื้นที่ปลูกตนไมอยางหลากหลายในพื้นที่ตางๆ เชน ในสวนยางพารา
                  สวนปาลมน้ํามัน สวนไมผล และบานเรือน ในหัวไรปลายนา และในพื้นที่วาง เปนตน

                            (2.3)  จัดทํารางกฎหมายที่เกี่ยวของ เพื่อใหประชาชนปลูกไมมีคาในที่ดินกรรมสิทธิ์
                  หรือที่ดินที่มีสิทธิ์ในการใชประโยชนโดยชอบดวยกฎหมาย
                        (3)  การดําเนินงานของหนวยงานตางๆ
                            (3.1)  สํานักงานการวิจัยแหงชาติ ขับเคลื่อนโครงการชุมชนไมมีคา โดยนําองคความรู

                  ดานการวิจัยและนวัตกรรมที่มีอยู พรอมทั้งใหมีการทําวิจัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุไมมีคา
                  ใหมีลักษณะเฉพาะที่สามารถตรวจสอบได รวมทั้งสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมเรื่องตางๆ
                            (3.2)  กรมปาไม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดําเนินการจัดทํา ปรับปรุง
                  แกไขและบริการวิชาการ เรื่องพระราชบัญญัติ กฎหมาย ระเบียบและขอบังคับเกี่ยวกับการปลูก

                  และการตัดไม รวมทั้งสนับสนุนการคัดเลือก การเพาะพันธุไม และการขยายพันธุไมมีคา รวมทั้ง
                  การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
                            (3.3)  สํานักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องคการมหาชน) กระทรวง

                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ดําเนินการเรื่องความหลากหลายทางพันธุกรรม การดําเนินการ
                  ขับเคลื่อนโครงการชุมชนไมมีคา รวมทั้งจัดทําเกณฑมาตรฐานการประเมินมูลคาไม โดยพัฒนาจาก
                  โครงการที่ดําเนินการอยูเดิม
                            (3.4)  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ดําเนินการจัดทํารายละเอียด
                  เกณฑมาตรฐานการประเมินมูลคาไม และเรื่องการใชตนไมเปนหลักประกัน รวมทั้งใหสินเชื่อ

                  ในการจัดทําโรงเพาะชําแกเกษตรกร
                            (3.5)  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ดําเนินการวางแผนและวิจัยเรื่องตนไมที่ควรปลูก
                  ในแตละพื้นที่ และรวมจัดทําเกณฑมาตรฐานการประเมินมูลคาไม
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194