Page 186 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 186

ผ-27





                      3.1  สลับแถว (Alternate  rows) เปนการนําเอาพืชตางชนิดมาปลูกสลับแถวกับยางพารา เชน

                  มะมวง ทุเรียน เงาะ ขนุน จําปาดะ ไมปาที่ตองการเนื้อไม พืชสมุนไพร ฯลฯ  ซึ่งอาจจะปลูกสลับกับ
                  แถวยางพารา 3x7 หรือ 3x8 เมตร สลับกันไป
                      3.2 ปลูกเปนแนวกันลม  (Tree  along  borders) เปนการนําพืชยืนตนที่อาจเปนพืชเกษตร เชน

                  มะพราว เงาะ ทุเรียน ฯลฯ หรือพืชปา เชน สะเดา ยางนา ตะเคียน พยุง ฯลฯ ปลูกไวรอบๆพื้นที่
                  สวนยางพารา เปนแนวเพื่อปองกันลมพายุ ชวยลดความเสียหายมิใหตนยางพาราหักหรือลมได
                  และการเลือกพันธุไมกันลมชนิดใดนั้นขึ้นอยูกับความตองการของเกษตรกร ซึ่งบางรายอาจชอบปลูก
                  ไมปา เนื่องจากตองการไดเนื้อไมมาใชสอย เพื่อการทําที่อยูอาศัยหรือเพื่อกิจกรรมอื่นๆได หรือบางราย
                  ชอบปลูกไมผล เนื่องจากพืชเหลานี้ นอกจากจะชวยปองกันลมไดแลว ยังใหผลผลิตเพื่อการบริโภค

                  หรือสามารถขายเปนรายไดเสริมดวย หากเปนเกษตรกรรายใหญ มีพื้นที่ปลูกมาก อาจแบงพื้นที่ปลูกให
                  มีตนไมกันลมเปนแนวตารางหมากรุก ใหกระจายไปในพื้นที่สวนยางพาราของตนเอง ทําใหไดประโยชน
                  ทั้งทางตรงและทางออม ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

                      3.3  ปลูกผสมผสาน  (Random mixture) เปนการปลูกพืชหลายๆ ชนิดคละกัน อยูในระหวาง
                  แถวยางพารา ๗ หรือ ๘ เมตร ใหทั่วทั้งแปลง แตการจะนําเอาพืชชนิดใดมาปลูกนั้น ตองพิจารณาตาม
                  ความตองการแสงของพืชแตละชนิด และความสัมพันธระหวางพืชเขามาเปนเกณฑในการคัดเลือกดวย
                  ซึ่งหากสามารถจัดการไดอยางเหมาะสมแลว การปลูกพืชแบบนี้จะเปนแนวทางการใชที่ดินใหเกิด
                  ประโยชนสูงสุด

                      3.4  ปลูกขยายแถว เปนการปลูกยางพาราที่มีระยะกวางกวาปกติ โดยการขยายแถวปลูก
                  ตนยางพาราออกไป เชน 3x14 เมตร หรือปลูกเปนแถวคู เชน ระยะ 2.50x6x14 เมตร โดยแตละคูแถว
                  ตนยางพารา (ระยะ  2.50x6 เมตร) หางกัน 14  เมตร แลวนําพื้นที่ชวงที่ขยายออกนี้มาใชเปน

                  ทุงหญาหรือปลูกหญาเลี้ยงสัตว (วัว แพะ แกะ) หรือปลูกไมผลตางๆ ที่ชอบแสง เชน เงาะ ทุเรียน มังคุด
                  สม ลิ้นจี่ ลําไย ฯลฯ เมื่อถึงชวงที่ยางพาราราคาตก เกษตรกรจะมีรายไดจากผลผลิตพืชอื่นๆชวยสราง
                  ภูมิคุมกันรายได เกษตรกรที่มีพื้นที่ปลูกยางพารานอย หากจัดระบบไดดีและเขาใจธรรมชาติ
                  จะชวยใหสามารถสรางรายไดเพิ่มมากขึ้นได โดยไมตองหวังรายไดจากยางพาราเพียงอยางเดียว
                  สวนกรณีเกษตรกรที่มีพื้นที่สวนยางพารามาก หากปลูกไมปาชนิดที่มีราคาสูงไว เชน ไมหอม ไมยาง

                  ไมตะเคียน ไมจําปา ไมเคียม ตําเสา ฯลฯ เมื่อเวลาผานไปครบ 25  ป นอกจากจะมีรายไดจากการขาย
                  ไมยางพาราไดแลว ยังมีรายไดจากการขายไมใชสอยมีคาอื่นๆ ที่ปลูกไว ซึ่งโดยทั่วไปสามารถขายไดราคา
                  สูงกวาไมยางพาราหลายเทา เกษตรกรที่ดําเนินการแบบนี้ยอมมีรายไดที่สูงกวาเกษตรกรที่ปลูกยางพารา

                  เชิงเดี่ยว
                      การทําสวนวนเกษตรยางพารา เปนแนวทางการจัดการที่ดินอีกรูปแบบหนึ่งที่สามารถสราง
                  ความมั่นคง ทั้งระดับครัวเรือน ชุมชน ประเทศชาติ และสิ่งแวดลอมได เพราะกอใหเกิดปฏิสัมพันธของ
                  สิ่งตางๆทั้งภายในและภายนอกระบบ สงผลใหเกิดภูมิคุมกันหลายดาน เชน อาหาร ไมใชสอย
                  ไมเชื้อเพลิง และสิ่งแวดลอม เปนตน

                      ปจจุบัน การยางแหงประเทศไทย เปดโอกาสใหนําแนวทางสวนวนเกษตรยางพารามาใชได โดยได
                  กําหนดนโยบายการใหทุนสงเคราะหแบบ 5 ขึ้น มีทั้งพืชปลูกทางการเกษตรชนิดตางๆ รวมกับสัตวเลี้ยง
                  และพืชปาอื่นๆ ทั้งที่เปนไมยืนตนและพืชลมลุก สรางความหลากหลายทางชีวภาพใหเกิดขึ้นภายใน
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191