Page 185 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 185

ภาคผนวกที่ 3

                         ทางเลือกในการปรับเปลี่ยน โดยการปลูกพืชแซม พืชรวมยางพารา


                                     สวนยางพาราผสมผสาน วนเกษตรยางพารา

                  1.  ปลูกพืชแซมในยางพาราเล็กเพิ่มรายได
                      พืชลมลุกอายุสั้น เชน พืชผักอินทรีย โดยปลูกหางแถวยางพาราประมาณ 1 เมตร
                      กลวยหอม กลวยเล็บมือนาง และมะละกอ ควรปลูกแถวเดียว          บริเวณกึ่งกลางระหวาง

                  แถวยางพารา
                      หญาอาหารสัตว เชน หญารูซี่ หญากินนีสีมวง หญาขน ควรปลูกหางแถวยางพาราประมาณ
                  1.50 - 2 เมตร

                  2  ปลูกพืชรวมยางพาราที่ใหผลผลิตพรอมๆ กับยางพารา
                      ยางพารา อายุ 3  ป ขึ้นไป เชน ขิง  ขา ขมิ้น และพืชสมุนไพรบางชนิด โดยปลูกระหวางแถว
                  หางแถวยางพารา 1.50 เมตร
                      ยางพารา อายุ 10  - 15 ป ซึ่งมีแสงรําไรเพียงพอและมีฝนตกชุก เหมาะสมตอการปลูกไมดอก
                  สกุลหนาวัว ไมดอกวงศขิง เชน ขิงแดง ดาหลา กระเจียวพังงา กระเจียวสม และบัว ไมดอกสกุล

                  เฮลิโกเนีย โดยปลูกระหวางแถวยางพารา หางแถวยางพารา 1.50 - 1.70 เมตร
                      ยางพารา อายุ 15      ป ขึ้นไป ไดแก พืชสกุลระกํา เชน ระกําหวาน สละเนินวง สละหมอ
                  หวายตะคาทอง กระวาน และไผ โดยปลูกกึ่งกลางแถวยางพารา สําหรับหวายตะคาทอง อาจเปน

                  อุปสรรคตอการปฏิบัติงานในสวนยางพารา แนะนําใหปลูกเปนพืชเสริมรายไดกอนการโคนยางพารา
                  3  วนเกษตรยางพารา
                      เปนการปลูกยางพารา โดยมีพืชอื่นๆ ปลูกรวมและปลูกแซม ประยุกตใชภูมิปญญาทองถิ่น รวมกับ
                  ความรูดานวนเกษตรควบคูกัน เปนแนวทางหนึ่งที่ชวยแกปญหาผลกระทบราคายางพาราในปจจุบัน

                  เปนการใชประโยชนที่ดินที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม สรางภูมิคุมกันไดหลากหลาย หากในสวนยางพารา
                  มีความหลากหลายของพืชและสัตวเพิ่มมากขึ้น เพราะการดํารงชีวิตรวมกันของพืชและสัตว
                  ที่หลากหลาย จะกอใหเกิดประโยชนตอชาวสวนยางพารา เชน แมลงชวยผสมเกสร ตัวเบียนชวยกิน
                  ศัตรูพืช จุลินทรียดินชวยยอยสลาย ไสเดือนชวยทําใหดินรวนซุย  สวนยางพาราที่มีความหลากหลาย

                  ทางชีวภาพลักษณะนี้ในประเทศไทย อาจมีชื่อเรียกแตกตางกันในแตละพื้นที่ เชน สวนสมรม
                  สวนพอเฒา และสวนดุซงของคนภาคใต  สวนสะเปะสะปะของคนภาคเหนือ สวนผสมผสานของ
                  กรมวิชาการเกษตร ขอเรียกรวมกันวาสวนวนเกษตรยางพารา โครงสรางองคประกอบในสวน
                  มียางพารามีทั้งที่เปนชนิดพืชปาและพืชปลูกที่ปรับปรุงพันธุมาเพื่อการเกษตรแลว ซึ่งชนิดที่ยังเปนพืชปา

                  นั้นก็มีอีกมากมาย ที่ควรจะนํามารวมในระบบไวดวย เนื่องจากอาจจะเปนชนิดที่หายาก ราคาแพง
                  มีประโยชนหลายดาน เกื้อกูลตอความอุดมสมบูรณของที่ดินทํากิน
                      แนวทางการสรางสวนวนเกษตรยางพารา การสรางสวนวนเกษตรยางพารา สามารถดําเนินการ

                  ไดหลายวิธี มีตัวอยางแนวทางการปลูกสรางสวนวนเกษตรยางพารา ดังนี้
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190