Page 188 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 188

ผ-29





                          ทั้งนี้ ไดปรากฏในสื่อสิ่งพิมพวาไดมีการจัดตั้งโรงงานแหงแรกในประเทศไทย คือ ที่จังหวัด

                  พังงา มีกําลังผลิตประมาณ 700 ตันตอวัน คาดวาโรงงานนี้จะผลิตไดประมาณ 250,000 ตัน/ป
                  และสงออกไดในป 2562 นอกจากนี้ยังมีบริษัทอื่นๆ อีกหลายบริษัทที่กําลังดําเนินการกอสรางโรงงาน
                  เชน บริษัทกัลย เอนานอย ไดกอสรางโรงงาน Wood Pellet  จํานวน 3 โรง ที่จังหวัดสุราษฎรธานี

                  กระบี่ และชลบุรี (www.ntbdays.com/kaset/2651)
                          กรณี การยางแหงประเทศไทยรวมมือกับการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยไดลงนาม
                  บันทึกขอตกลงความรวมมือ โครงการจัดหาวัตถุดิบจากเศษไมยางพาราและสงเสริมการปลูกไมโตเร็ว เพื่อใช
                  เปนเชื้อเพลิงโรงไฟฟาชีวมวลของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย โดยสนับสนุนใหเกษตรกรปลูก
                  ไมโตเร็ว 5 ชนิด ไดแก กระถินณรงค กระถินเทพา กระถินยักษ สนประดิพัทธ และยูคาลิปตัส ควบคูไปกับ

                  การทําสวนยางพารา
                          ทั้งนี้ การไฟฟาฝายผลิตไดใหขอมูลวา ภาครัฐมีนโยบายปรับเพิ่มสัดสวนการผลิตไฟฟาจาก
                  พลังงานหมุนเวียนใหสูงขึ้น ประกอบกับการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานทดแทนที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น

                  ซึ่งตามแผนบูรณาการพลังงานระยะยาว ป 2558-2579 (Thailand  Integrated  Energy  Blueprint  :  TIEB)  นั้น
                  ไดกําหนดใหมีการพัฒนาโครงการโรงไฟฟาชีวมวล โดยใชเชื้อเพลิงชีวมวลจากพื้นที่ที่มีศักยภาพ
                          สวนการยางแหงประเทศไทยนั้น ไดใหขอมูลวา โรงไฟฟาชีวมวล นอกจากจะเปนพลังงานทดแทน
                  แลวยังเปนอีกทางเลือกหนึ่ง ที่จะชวยเพิ่มรายไดใหชาวสวนยางพารา และครอบครัว เพราะปจจุบัน ตลาด

                  มีความตองการใชไมยางพารา และไมชนิดอื่นๆ สูงมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งในอุตสาหกรรมพลังงานการปลูก
                  ไมโตเร็วนั้นไมยาก สามารถปลูกไดพรอมๆ กับการปลูกยางพารา และสามารถตัดขายไดในชวงระหวาง
                  รอการเปดกรีด (กทย. และ กฟผ. 2560 : 1-2)
                          ตอมา เมื่อ วันที่ 5 มกราคม 2561 ไดมีการสัมมนาเรื่อง “อุตสาหกรรมไมเศรษฐกิจ ขับเคลื่อน

                  ประเทศไทย 4.0 สูการพัฒนาที่ยั่งยืน” ไดมีการกําหนดยุทธศาสตรไว ดังนี้
                        ยุทธศาสตรและแผนงานการสงเสริมไมเศรษฐกิจแบบครบวงจร พ.ศ. 2561-2579 ประกอบดวย
                  7 ยุทธศาสตร 21 แผนงาน และ 67 โครงการ สรุปไดดังนี้
                        ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาและปรับปรุงกฎหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสงเสริมไมเศรษฐกิจ

                  มุงเนนการปรับปรุงกฎหมาย บังคับปลูกในพื้นที่ ส.ป.ก. พัฒนาหลักเกณฑรับเกษตรกร
                        ยุทธศาสตรที่ 2 การจัดเตรียมพื้นที่รองรับการสงเสริมไมเศรษฐกิจ เนนเตรียมพื้นที่ปลูก
                        ยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนามาตรการทางการคลัง  การเงิน และระบบตลาด เพื่อสรางแรงจูงใจ

                  เนนลดหยอนภาษี กองทุนไมเศรษฐกิจ สินเชื่อดอกเบี้ยต่ํา บทบาทภาคเอกชนสงเสริมปลูก
                        ยุทธศาสตรที่ 4 การสงเสริมและพัฒนาเกษตรกร และผูประกอบการไมเศรษฐกิจ
                  เนนการรวมกลุมเกษตรกร ตนแบบเกษตรกร ถายทอดเทคโนโลยี ผลักดันไมเศรษฐกิจสูอาชีพ
                        ยุทธศาสตรที่ 5 การวิจัย พัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมไมเศรษฐกิจ เนนการวิจัยพัฒนาพันธุไม
                  การจัดการสวนไมศรษฐกิจ การใชประโยชนไมยางพารา ไมเศรษฐกิจ

                        ยุทธศาสตรที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริหารงานเพื่อสงเสริมไมเศรษฐกิจ
                  เนนการพัฒนาบุคลากรดานสงเสริม อาชีพนักสงเสริมไมเศรษฐกิจ พัฒนาระบบการใหบริการ
                  ประชาสัมพันธเชิงรุก
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193