Page 36 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม
P. 36

2-22





                                  1.2)  มะพร้าวตาล
                                        (1) สถานการณ์การผลิตและการตลาด

                                            ผลมะพร้าวส าหรับท าน้ าตาลของจังหวัดสมุทรสงครามมีเนื้อที่ยืนต้น
                  12,963 ไร่ ปีเพาะปลูก 2560 ในช่วง 5 ปี (ปี 2556 – 2560) มีเนื้อที่ยืนต้น และเนื้อที่ให้ผล มีแนวโน้ม
                  ลดลงเฉลี่ยร้อยละ 1.89 และร้อยละ 1.92 เนื่องจากอาชีพการท าน้ าตาลมะพร้าวเป็นอาชีพที่สืบทอดกัน
                  มาช้านาน และเป็นอาชีพที่ใช้แรงงานในครัวเรือน เมื่อภาคอุตสาหกรรมมีการขยายตัวมากขึ้น ท าให้
                  สมาชิกในครัวเรือนรุ่นใหม่ได้รับการศึกษาสูงขึ้น มีการเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมมากกว่า
                  ที่จะกลับภูมิล าเนาเพื่อสืบทอดอาชีพการท าน้ าตาลมะพร้าว จึงท าให้ผู้ประกอบอาชีพท าน้ าตาลมะพร้าว

                  ปัจจุบันเป็นแรงงานสูงอายุ ดังนั้น เมื่อแรงงานสูงอายุลดลง และขาดแรงงานทดแทน จึงท าให้เนื้อที่ปลูก
                  มะพร้าวเพื่อท าน้ าตาลถูกเปลี่ยนเป็นพื้นที่เก็บเกี่ยวมะพร้าวผล (ตารางที่ 2-9 และรูปที่ 2-8)
                                            ส าหรับผลผลิตน้ าตาลใสก่อนที่เกษตรกรจะน าไปเคี่ยวเพื่อให้ได้น้ าตาล
                  แห้งหรือเรียกว่าน้ าตาลมะพร้าวพร้อมที่จะน าไปบริโภค ซึ่งผลจากการส ารวจพบว่าในปี 2560 มีผลผลิต
                  ต่อไร่น้ าตาลใส 1,821.50 กิโลกรัม หรือผลผลิตรวมน้ าตาลใส 23,072,940.50 กิโลกรัม เมื่อคิดจากเนื้อ
                  ที่ให้ผล 12,667ไร่ เมื่อแปรรูปเป็นน้ าตาลแห้งพร้อมใช้เป็นส่วนผสมแล้ว จะได้ปริมาณ 3,460,941.08
                  กิโลกรัม (60 ลิตร น้ าตาลใส จะได้น้ าตาลแห้ง 9 กิโลกรัม) ส าหรับผลผลิตน้ าตาลใส โดยมะพร้าว 1 ต้น

                  เกษตรกรจะใช้จั่นหรืองวงมะพร้าวเพื่อปาดท าน้ าตาล จ านวน 2 – 3 ช่อเป็นส่วนใหญ่ และจะมีการพัก
                  ต้นประมาณ 2 เดือน เพื่อรอให้จั่นมะพร้าวที่ออกใหม่เจริญเติบโตพร้อมที่จะให้ผลผลิตน้ าตาลใสต่อไป
                  ทั้งนี้ ช่วงเวลาที่มะพร้าวให้ผลผลิตน้ าตาลใสมากที่สุด คือเดือนมีนาคม – เมษายน และช่วงที่ให้ผลผลิต
                  น้ าตาลใสน้อยที่สุด คือเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ เนื่องจากสภาพอากาศหนาวเย็นท าให้ผลผลิต
                  ออกน้อย
                                            วิถีตลาดน้ าตาลมะพร้าวของจังหวัดสมุทรสงคราม ปี 2560 ระบบตลาด

                  น้ าตาลมะพร้าวของจังหวัดสมุทรสงคราม มีผู้เกี่ยวข้องประกอบด้วย 1) เกษตรกร ผู้ปลูกมะพร้าวและ
                  ท าน้ าตาลมะพร้าว 2) พ่อค้าคนกลาง โดยน้ าตาลใสที่ผ่านการแปรรูปเป็นน้ าตาลมะพร้าวหรือน้ าตาลที่
                  พร้อมจะน าไปเป็นส่วนประกอบอาหาร ร้อยละ 80 จะผ่านพ่อค้าคนกลางเข้าสู่ตลาดผู้บริโภค
                  ประกอบด้วยตลาดต่างประเทศ ซึ่งมีไม่มากนัก ตลาด กทม. ตลาดจังหวัดอื่นๆ และตลาดในจังหวัด
                  ส าหรับน้ าตาลมะพร้าวอีกร้อยละ 20 เกษตรกรจะเป็นผู้จ าหน่ายโดยตรงสู่ตลาดผู้บริโภคเอง ซึ่งมีทั้ง
                  ตลาด กทม. ตลาดในจังหวัดและจังหวัดในภูมิภาคอื่น (รูปที่ 2-9)

                  ตารางที่ 2-9 เนื้อที่ยืนต้น และเนื้อที่ให้ผลมะพร้าวตาล ปี 2556 – 2560 จังหวัดสมุทรสงคราม

                                   ปี                  เนื้อที่ยืนต้น (ไร)      เนื้อที่ให้ผล (ไร่)
                                 2556                      13,989                   13,691
                                 2557                      13,815                   13,550
                                 2558                      13,521                   13,249
                                 2559                      13,245                   12,955
                                 2560                      12,963                   12,667
                       อัตราการเปลี่ยนแปลง (ร้อยละ)         -1.89                    -1.92
                  ที่มา: ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2562)
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41