Page 34 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม
P. 34

2-20





                                                               เกษตรกร

                                                                100%


                                            ผู้รวบรวม/ล้งมะพร้าว          ผู้ประกอบการแปรรูป
                                                  90%           10%      มะพร้าวขาว/มะพร้าวด า
                                               ผู้รวบรวม                      10%+10%

                                          มะพร้าวขาว/มะพร้าวด า
                                                 55%
                                                        45%         15%                  5%      10%
                            ตลาดใน/นอก จังหวัด         โรงงานอุตสาหกรรมกะทิ            โรงงานอุตสาหกรรม

                                  25%                        ส าเร็จรูป                  น้ ามันสกัดเย็น
                                                              60%                            15%

                  รูปที่ 2-6  วิถีการตลาดมะพร้าวแก่จังหวัดสมุทรสงคราม ปี 2560
                  ที่มา: ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2562)
                                        (2) การวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจของพืชเศรษฐกิจและพืชทางเลือก

                                            ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตมะพร้าวผลแก่ ปีเพาะปลูก 2560 ของ
                  จังหวัดสมุทรสงคราม ในพื้นที่เหมาะสมส าหรับการปลูก (S1, S2) พบว่า เกษตรกรมีต้นทุนรวม
                  3,722.64 บาทต่อไร่ ประกอบด้วยต้นทุนผันแปร 2,163.12 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่ 1,559.52 บาท
                  ต่อไร่ ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 943.90 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่จ าหน่ายได้เฉลี่ย 6.16 บาทต่อกิโลกรัม
                  มีผลตอบแทนไร่ละ 5,814.42 บาท และมีผลตอบแทนสุทธิไร่ละ 2,091.78 บาท

                                            ในพื้นที่ไม่เหมาะสมส าหรับการปลูก (S3, N) พบว่า เกษตรกรมีต้นทุน
                  การผลิตรวม 2,942.08 บาทต่อไร่ ประกอบด้วยต้นทุนผันแปร 1,463.27 บาทต่อไร่ และต้นทุนคงที่
                  1,478.81 บาทต่อไร่ ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 726.27 กิโลกรัมต่อไร่ ราคาที่จ าหน่ายได้เฉลี่ย 5.04 บาทต่อ
                  กิโลกรัม มีผลตอบแทนไร่ละ 3660.4 บาท และมีผลตอบแทนสุทธิไร่ละ 718.32 บาท
                                            เมื่อพิจารณาอัตราส่วนรายได้ต่อต้นทุนทั้งหมด (BCR) พบว่า ในพื้นที่
                  เหมาะสมมาก (S1, S2) และพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3, N) เท่ากับ 1.56 และ 1.24 ตามล าดับ มีค่ามากกว่า
                  1 แสดงให้เห็นว่าคุ้มค่ากับการลงทุน (ตารางที่ 2-8)
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39