Page 39 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม
P. 39

2-25





                                                          น้ าตาลมะพร้าว



                                    ผลผลิตของจังหวัด (Supply)             การใช้ (Demand)
                                         3,460.94 ตัน                      3,460.94  ตัน

                                ผลผลิตในจังหวัด 3,460.94 ตัน

                                                                           ใช้ในจังหวัด 346.09 ตัน



                                  น าเข้าจากจังหวัดอื่น 0 ตัน          จ าหน่ายนอกจังหวัด 3,105.16 ตัน



                                                                           ส่งออก ตปท. 9.69 ตัน


                  รูปที่ 2-10  การบริหารจัดการสินค้าน้ าตาลมะพร้าวจังหวัดสมุทรสงคราม ปี 2560
                  ที่มา: ดัดแปลงจากส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2562)                                                                                48.03 %

                                  1.3)  ส้มโอ
                                        (1) สถานการณ์การผลิตและการตลาด
                                            ส้มโอของจังหวัดสมุทรสงครามมีเนื้อที่เพาะปลูก 1 2 ,4 9 5  ไร่
                  ปีเพาะปลูก 2560 ในช่วง 5 ปี (ปี 2556 – 2560) จังหวัดสมุทรสงคราม มีเนื้อที่เพาะปลูก ที่มีแนวโน้ม
                  ลดลงเฉลี่ยร้อยละ 0.69 ต่อปี และมีเนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเฉลี่ย
                  ร้อยละ 0.39 36.68 และ 36.19 ต่อปี ตามล าดับ (ตารางที่ 2-11) และ (รูปที่ 2-11)

                                            ปี 2561 ข้อมูลจากกรมส่งเสริมการเกษตร คาดการณ์ว่า ผลผลิตส้มโอ
                  ของจังหวัดสมุทรสงครามจะมีผลผลิตประมาณ 17,000 ตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ร้อยละ 1.28 เป็นผลมา
                  จากสภาพภูมิอากาศและปริมาณน้ าฝนที่เพียงพอ เหมาะสมต่อการออกผลผลิตของส้มโอ ส าหรับแหล่ง
                  ปลูกส้มโอที่ส าคัญของจังหวัดสมุทรสงคราม ได้แก่ อ าเภออัมพวา อ าเภอบางคนที และอ าเภอเมือง
                  สายพันธุ์ส้มโอที่ปลูกคือ พันธุ์ขาวใหญ่ เนื่องจากเป็นสายพันธุ์ที่ตลาดมีความต้องการสูง และสามารถให้
                  ผลผลิตได้ตลอดทั้งปี

                                            วิถีตลาดส้มโอของจังหวัดสมุทรสงคราม เกษตรกรชาวสวนผู้ปลูกส้มโอ
                  ของจังหวัดสมุทรสงครามขายส้มโอให้พ่อค้าคนกลางเป็นผู้รวบรวมร้อยละ 80 ของผลผลิตทั้งหมด ขาย
                  ให้ผู้บริโภคภายในจังหวัดร้อยละ 10 ส่วนที่เหลือน าไปขายยังตลาดอื่นนอกจังหวัดอีกร้อยละ 10 ส าหรับ
                  ผลผลิตที่ถูกรวบรวมโดยพ่อค้าคนกลางร้อยละ 80 นั้น มีการกระจายสินค้าต่อไปตลาดต่างๆ ดังนี้
                  1) ตลาดต่างประเทศร้อยละ 50 2) ตลาดกรุงเทพฯ ร้อยละ 25 (ตลาดไท ตลาดสี่มุมเมือง) 3) ตลาด
                  ต่างจังหวัดร้อยละ 5 (รูปที่ 2-12)
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44