Page 32 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดสมุทรสงคราม
P. 32

2-18





                           1.4  พืชเศรษฐกิจส าคัญในจังหวัดสมุทรสงคราม

                               1)  พืชเศรษฐกิจส าคัญ 3 ล าดับ
                                 จากรายงานการวิเคราะห์ด้านเศรษฐกิจสินค้าเกษตรที่ส าคัญจังหวัดสมุทรสงคราม
                  ปี 2559/60 ของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 10 พบว่า การวิเคราะห์สินค้าเกษตรที่ส าคัญสูงสุด 3

                  ล าดับแรก ได้แก่ มะพร้าวผลแก่ มะพร้าวตาล และส้มโอ โดยศึกษาวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต
                  ผลตอบแทนเปรียบเทียบการผลิตในพื้นที่เหมาะสมมาก (S1) และเหมาะสมปานกลาง (S2) กับพื้นที่
                  เหมาะสมน้อย (S3) และพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) และศึกษาวิเคราะห์อุปสงค์ (Demand) อุปทาน
                  (Supply) วิถีการตลาด สามารถสรุปได้ดังนี้
                                  1.1)  มะพร้าวผลแก่

                                        (1) สถานการณ์การผลิตและการตลาด
                                           มะพร้าวผลแก่จังหวัดสมุทรสงครามมีเนื้อที่ยืนต้น 3 3 ,582 ไร่
                  ปีเพาะปลูก 2560 ในช่วง 5 ปี (ปี 2556 – 2560) มีเนื้อที่ยืนต้น เนื้อที่ให้ผล ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่

                  มีแนวโน้มลดลงเฉลี่ยร้อยละ 0.33 1.06 5.12 และ 4.13 ต่อปี ตามล าดับ เนื่องจากหลายพื้นที่ได้รับ
                  ผลกระทบจากการระบาดของแมลงด าหนามซึ่งเป็นศัตรูพืชที่ส าคัญของมะพร้าว ท าให้มะพร้าวยืนต้น
                  ตาย หรือเจริญเติบโตไม่เต็มที่ ในขณะเดียวกัน ในปี 2558 สภาพอากาศแห้งแล้งค่อนข้างรุนแรง ส่งผล
                  ให้มะพร้าวติดดอก ออกผลน้อย เจริญเติบโตช้า (ตารางที่ 2-7 และรูปที่ 2-5)
                                            วิถีตลาดมะพร้าวผลแก่ของจังหวัดสมุทรสงคราม ปี 2560 จากการ

                  ศึกษา พบว่ามีผู้เกี่ยวข้องในระบบตลาดประกอบด้วย 1) เกษตรกรผู้ปลูกมะพร้าวผลแก่ 2) พ่อค้า
                  รวบรวมหรือล้งมะพร้าว ท าหน้าที่รวบรวมมะพร้าวจากเกษตรกรรายย่อยประมาณร้อยละ 90 ของ
                  ผลผลิตทั้งหมด เพื่อจ าหน่ายตลาดภายในจังหวัดและนอกจังหวัด (ร้อยละ 25) และแปรรูปตามค าสั่งซื้อ
                  ของผู้รวบรวมมะพร้าวขาว/มะพร้าวด า (ร้อยละ 55) เพื่อส่งโรงงานอุตสาหกรรมกะทิ และมะพร้าวด า
                  ส่วนอีกร้อยละ 10 จะจ าหน่ายเป็นมะพร้าวผลให้กับผู้ประกอบการแปรรูปมะพร้าวขาว/มะพร้าวด า
                  3) ผู้ประกอบการแปรรูปมะพร้าวขาว/มะพร้าวด า ท าหน้าที่รับซื้อมะพร้าวจากเกษตรกรโดยตรง

                  ประมาณร้อยละ 10 และรับซื้อจากล้งอีกประมาณร้อยละ 10 เพื่อกระจายหรือจ้างเกษตรกรหรือ
                  ชาวบ้านแปรรูปเป็นมะพร้าวขาวและมะพร้าวด า ส่งโรงงานอุตสาหกรรมกะทิส าเร็จรูปและโรงงานน้ ามัน
                  มะพร้าวสกัดเย็น 4) ผู้รวบรวมมะพร้าวขาว/มะพร้าวด า ท าหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางในการรวบรวม
                  วัตถุดิบประมาณร้อยละ 55 เพื่อส่งให้โรงงานอุตสาหกรรมกะทิส าเร็จรูป และโรงงานน้ ามันมะพร้าวสกัด
                  เย็น ซึ่งจะเป็นผู้ที่ได้รับโควตาจากโรงงานนั้นๆ ในการจัดหาและจ าหน่ายวัตถุดิบให้กับโรงงาน
                                            ดังนั้นผลผลิตมะพร้าวของจังหวัดสมุทรสงครามในปี 2560 จะถูก
                  จ าหน่ายเข้าตลาดผู้บริโภค ทั้งในจังหวัดและนอกจังหวัดร้อยละ 25 ส่งจ าหน่ายเข้าโรงงานอุตสาหกรรม

                  กะทิส าเร็จรูปร้อยละ 60 และโรงงานอุตสาหกรรมน้ ามันมะพร้าวสกัดเย็นร้อยละ 15 (รูปที่ 2-6)
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37