Page 112 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 112

5-12





                              4) เขตปลูกไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 255,393 ไร่ หรือร้อยละ 9.80 ของเนื้อที่จังหวัด

                  สภาพภูมิประเทศจะมีตั้งแต่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ จนไปถึงเนินเขา มีความลาดชันมากกว่า 35
                  เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว ดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง ดินร่วนเหนียวปนทราย ดินร่วน
                  ดินทรายร่วน และดินร่วนทราย การระบายน้ าดีค่อนข้างมากถึงเลว ความอุดมสมบูรณ์ดินต่ า ดินเป็น

                  ดินตื้นมากถึงลึกมาก บางบริเวณเป็นดินลึกปานกลางหรือตื้นถึงชั้นลูกรัง ชั้นหินพื้นซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบ
                  รากพืช มีความเหมาะสมเล็กน้อยหรือไม่เหมาะสมส าหรับการปลูกยืนต้น สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันส่วน
                  ใหญ่เป็นไม้ยืนต้น เช่น ไม้ยืนต้นร้าง/เสื่อมโทรม ไม้ยืนต้นผสม ยางพารา และปาล์มน้ ามัน พื้นที่เขตนี้
                  จะกระจายอยู่ทั่วในทุกอ าเภอของจังหวัดพังงา
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา

                                (1) ควรก าหนดให้เป็นพื้นที่เร่งรัดการพัฒนาที่ดินเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตให้ดีขึ้น
                  โดยปรับปรุงบ ารุงดินที่เป็นทราย ดินมีกรวดหินปะปน และความอุดมสมบูรณ์ต่ า ด้วยอินทรียวัตถุและ
                  ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับการปลูกพืชตระกูลถั่ว และไถกลบลงในดิน

                                (2) ใช้ที่ดินด้านเกษตรกรรมควบคู่กับการจัดระบบอนุรักษ์ดิน และน้ า เช่น
                  ปลูกแฝกเป็นแถบตามแนวระดับขวางความลาดเท เพื่อลดปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน
                                (3) สนับสนุนการปลูกป่า และไม้โตเร็ว ควบคู่กับการอนุรักษ์ดินและน้ า
                                (4) พัฒนาแหล่งน้ า และส่งเสริมการท าเกษตรแบบผสมผสานตามแนวทางเศรษฐกิจ

                  พอเพียง โดยเน้นการปลูกพืชให้หลากหลายชนิด ทั้งพืชไร่ พืชผัก ไม้ผล และไม้ยืนต้น
                                (5) ฟื้นฟูสภาพพื้นที่บริเวณที่ถูกท าลายให้สามารถน ากลับมาใช้ประโยชน์ใน
                  ด้านการเกษตร โดยการปรับพื้นที่ และปล่อยให้เป็นทุ่งหญ้าธรรมชาติหรือปลูกไม้ยืนต้น

                            2.4  เขตปศุสัตว์ มีเนื้อที่ 1,082 ไร่ หรือร้อยละ 0.04 ของเนื้อที่จังหวัด ส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้า
                  เลี้ยงสัตว์ และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ เช่น โค กระบือ ม้า สัตว์ปีก และสุกร พื้นที่เขตนี้ส่วนใหญ่พบกระจายตัว

                  อยู่ในทุกอ าเภอของจังหวัดพังงา
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา
                                (1) ควบคุมระบบนิเวศน์มลภาวะด้านกลิ่น เสียง และน้ าเสีย ไม่ให้รบกวน

                  และส่งผลกระทบต่อชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียง
                                (2) ควบคุม และป้องกันโรคระบาดอย่างใกล้ชิด และเข้มงวด ปฏิบัติตาม
                  ค าแนะน าของทางราชการอย่างเคร่งครัด
                                (3) ส่งเสริมและสนับสนุนการท าปศุสัตว์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

                          2.5  เขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้่า มีเนื้อที่ 21,722 ไร่ หรือร้อยละ 0.83 ของเนื้อที่จังหวัด พื้นที่เขตนี้

                  ก าหนดให้เป็นเขตเกษตรกรรมประเภทเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า เช่น สัตว์น้ าผสม ปลา และกุ้ง พื้นที่เขตนี้
                  ส่วนใหญ่พบกระจายตัวอยู่ทั่วทุกอ าเภอของจังหวัดพังงา แต่พบน้อยที่สุดที่อ าเภอกะปง
                                  รูปแบบและแนวทางการพัฒนา
                                (1) ควบคุมมลพิษทางน้ าจากสถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าโดยการจัดท าระบบ
                  การบ าบัดน้ าเสียที่ถูกต้อง และควบคุมการระบายน้ าเสียอย่างเคร่งครัด เพื่อลดความสกปรกของน้ า

                  ก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะ
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117