Page 114 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 114

5-14





                                (4) ผลักดัน ส่งเสริมและสนับสนุนการท ากิจกรรม Corporate Social Responsibility

                  (CSR) ของผู้ประกอบการโรงงาน เพื่อประโยชน์สุขแก่องค์กร และสังคมอันน าไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
                  และสังคมอยู่ด้วยกันอย่างปกติสุข
                                (5) ควบคุมให้ผู้ประกอบการกิจการเหมืองแร่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแร่หรือ

                  กฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัดหมั่นตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบบ าบัดน้ าเสียของเหมืองแร่
                  และควบคุมการระบายน้ าเสียเพื่อลดความสกปรกของน้ าก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ าสาธารณะ
                                (6) ส่งเสริมการท าอุตสาหกรรมแร่สีเขียวสะอาดตั้งแต่ต้นจนจบ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
                  ที่ใช้เทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดโดยการสร้างแรงจูงใจให้ผู้ประกอบการเหมืองแร่ มีมาตรการที่ดีและ
                  ปฏิบัติตามมาตรการ เงื่อนไข ระเบียบและกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด

                                (7) ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
                  และสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการท าเหมืองแร่ ตลอดจนการฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการท าเหมืองแร่ให้มีการใช้
                  ประโยชน์ตามศักยภาพของพื้นที่ และความต้องการของชุมชน

                        4. เขตแหล่งน้่า

                          มีเนื้อที่ 118,763 ไร่ หรือร้อยละ 4.56 ของเนื้อที่จังหวัด เขตแหล่งน้ า ประกอบด้วย แม่น้ า
                  ล าห้วย ล าคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ ทะเล อ่างเก็บน้ า บ่อน้ าในไร่นา และคลองชลประทาน แหล่งน้ า
                  เหล่านี้ใช้ประโยชน์ทั้งทางด้านเก็บกักน้ า และการระบายน้ าเพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภค
                  ด้านเกษตรกรรม ตลอดจนเป็นแหล่งอาหารตามธรรมชาติ และเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าของชุมชน เขตแหล่งน้ า

                  สามารถแบ่งได้เป็น 2 เขต คือ
                          4.1  เขตแหล่งน้่าตามธรรมชาติ มีเนื้อที่ 113,651 ไร่ หรือร้อยละ 4.36 ของเนื้อที่จังหวัด
                  ได้แก่ แม่น้ า ล าห้วย ล าคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ และทะเล
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา

                                ดูแลรักษาแหล่งน้ าธรรมชาติไม่ให้เสื่อมโทรมทั้งด้านคุณภาพของน้ า และการกักเก็บ
                  น้ า ไม่ปล่อยให้ล าน้ าตื้นเขิน และถูกบุกรุก หมั่นขุดลอกคู คลอง ไม่ทิ้งขยะ และน้ าเสียลงในแหล่งน้ า
                  เร่งรัดพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็กให้มีจ านวน และการกระจายมากขึ้น เพื่อช่วยในการอุปโภคบริโภค

                  และการเพาะปลูกในช่วงขาดน้ า
                        4.2  เขตแหล่งน้่าที่มนุษย์สร้างขึ้น มีเนื้อที่ 5,112 ไร่ หรือร้อยละ 0.20 ของเนื้อที่จังหวัด

                  ได้แก่ อ่างเก็บน้ า บ่อน้ าในไร่นา และคลองชลประทาน
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา
                                (1) ควบคุมมิให้เกิดมลพิษกับแหล่งน้ า มีการควบคุมมิให้มีการปล่อยสิ่งสกปรกลง
                  ในแหล่งน้ า

                                (2) บ ารุงรักษา ปรับปรุง และขุดลอกแหล่งน้ าที่ตื้นเขินเพื่อเพิ่มความจุในการกักเก็บน้ า
                                (3) ส่งเสริม สนับสนุนให้ชุมชนท้องถิ่นมีสิทธิในการมีส่วนร่วมจัดการแหล่งน้ าในพื้นที่
                                (4) รณรงค์ให้ความรู้กับประชาชนในท้องถิ่น เรื่องการประหยัดน้ า
                                (5) สร้างเครือข่ายการอนุรักษ์แหล่งน้ าให้ชุมชนท้องถิ่น
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119