Page 110 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดพังงา
P. 110

5-10





                                (2) ควรจัดท าระบบอนุรักษ์ดิน และน้ า เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และ

                  รักษาความชุ่มชื้นของดิน เช่น การปลูกหญ้าแฝก
                                (3) ควรส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มของเกษตรกรแต่ละสายการผลิต
                  เพื่อให้มีการอบรม และถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม่ ปรับปรุงกระบวนการ และขั้นตอนการผลิต

                  เพื่อเป็นการเพิ่มคุณภาพ ผลผลิตให้สูงขึ้น และเพื่อเพิ่มอ านาจการต่อรองในการขายผลผลิตให้ได้ราคา
                  ยุติธรรม
                          2.3  เขตเกษตรกรรมที่มีศักยภาพการผลิตต่่า มีเนื้อที่ 263,614 ไร่ หรือร้อยละ 10.11
                  ของเนื้อที่จังหวัด เป็นพื้นที่ท าการเกษตรโดยอาศัยน้ าฝนในการเพาะปลูก บริเวณที่มีสภาพพื้นที่เป็น
                  ที่ดอนมีการปลูกพืชไร่ และไม้ยืนต้น บางพื้นที่มีการปลูกข้าวโดยการท าคันนา ดินมีความเหมาะสมน้อย

                  (S3) ส าหรับการท าการเกษตร ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า บางแห่งเป็นดินตื้น และมีกรวดหิน
                  ปะปนมาก การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตท าได้ค่อนข้างยาก เนื่องจากมีข้อจ ากัดหลายด้าน เป็นเขตที่มี
                  ปัญหาด้านความเสื่อมโทรมของทรัพยากร รัฐจึงควรก าหนดให้เป็นพื้นที่เป้าหมายแรกในการเร่งรัดฟื้นฟู

                  คุณภาพดิน และทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของเกษตรกรให้ดีขึ้น เขตเกษตรกรรมที่มี
                  ศักยภาพการผลิตต่ า สามารถแบ่งได้เป็น 4 เขตย่อย ได้แก่ เขตท านา เขตปลูกพืชไร่ เขตปลูกไม้ผล และ
                  เขตปลูกไม้ยืนต้น โดยมีรายละเอียดดังนี้

                              1) เขตท านา มีเนื้อที่ 2,196 ไร่ หรือร้อยละ 0.08 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพพื้นที่ใน
                  เขตนี้เป็นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด มีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง

                  และดินร่วนทราย เป็นดินลึกมาก มีการระบายน้ าดีปานกลางถึงเลวมาก ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ า
                  มีการท าคันนาเพื่อใช้เพาะปลูกข้าว มีความเหมาะสมเล็กน้อยหรือไม่มีความเหมาะสมส าหรับการปลูกข้าว
                  สภาพการใช้ที่ดินในปัจจุบันเป็นนาข้าว พื้นที่เขตนี้ก าหนดให้เป็นเขตเกษตรกรรมเพื่อการปลูกข้าวโดยอาศัย
                  น้ าฝนเป็นหลัก พื้นที่เขตนี้จะมีลักษณะแบบกระจุกตัวอยู่บางบริเวณในทุกอ าเภอของจังหวัดพังงา ยกเว้น

                  อ าเภอกะปง
                                รูปแบบและแนวทางการพัฒนา
                                (1) ควรปรับปรุงบ ารุงดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือ

                  ปุ๋ยพืชสด เพื่อช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดิน และเพิ่มธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ส าหรับพืช ร่วมกับการใส่
                  ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ในอัตราส่วนที่เหมาะสม
                                (2) พัฒนาแหล่งน้ าเพิ่มเติม เช่น บ่อน้ าขนาดเล็กในไร่นา รวมทั้งปรับปรุงแหล่งน้ า
                  ตามธรรมชาติ ให้สามารถกักเก็บน้ าได้ดีขึ้น เพื่อใช้ส าหรับปลูกพืช เพื่อลดความเสียหายจากกรณี
                  ฝนทิ้งช่วง

                                (3) คัดเลือกข้าวพันธุ์ดีที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และท าการเกษตรโดยยึดแนวทาง
                  เกษตรผสมผสานตามแนวทางทฤษฎีใหม่ และเกษตรพอเพียงเพื่อการค้าและการบริโภค

                              2) เขตปลูกพืชไร่ มีเนื้อที่ 552 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของเนื้อที่จังหวัด สภาพภูมิประเทศ
                  จะมีตั้งแต่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ จนไปถึงเนินเขา มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อ
                  ดินเป็นดินร่วนเหนียว ดินร่วนเหนียวปนทราย ดินทรายร่วน และดินร่วนทราย เป็นดินตื้นมากถึงดินลึกมาก

                  การระบายน้ าดีค่อนข้างมากถึงเลว ความอุดมสมบูรณ์ดินต่ า มีความเหมาะสมเล็กน้อยหรือไม่เหมาะสม
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115