Page 219 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 219

5-29





                                                                    
                  แยกเอาอนุภาคหรือสารอาหารของแบคทีเรียที่ปนเปอนออกกอนเขาสูถังเก็บ จากนั้น ฆาเชื้อซึ่งวิธีที่นิยม
                  ใชคือการใชสารฆาเชื้อชนิดที่มีคลอรีนหรือโบรมีนเปนสวนประกอบ แตน้ำที่ผานการบำบัดแลว
                                               ิ
                  อาจเปลี่ยนสีและอาจมีคุณสมบัตกัดกรอนเนื่องจากการตกคางของสารเคมีจากการบำบัด จึงตองม ี
                  การทดสอบความใสของน้ำ แบคทีเรียในน้ำ และระดับคลอรีน สามารถนำน้ำนี้มาใชอุปโภค เชน รดตนไม  

                  น้ำลางรถ หรือน้ำสำหรับชักโครกสุขภัณฑ  
                                    3) การบำบัดน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม น้ำเสียจากโรงงาน
                                       ี่
                                                                         ี่
                                                                                                     ั้
                  อุตสาหกรรมเปนน้ำเสียทมีสิ่งสกปรกและสารปนเปอนในปริมาณทมากกวาน้ำเสียจากแหลงชุมชน ทงนี้
                  สิ่งสกปรก และสารปนเปอนดังกลาวจะแตกตางกันไปตามประเภทธุรกิจของโรงงานอุตสาหกรรมนั้น ๆ
                  ซึ่งการบำบัดดวยกรรมวิธีทางชีวภาพเพียงอยางเดียวไมเพียงพอ เนื่องจากสารเคมีและสารละลาย
                  ไมสามารถกำจัดใหหมดไปดวยกรรมวิธีดังกลาวได ดังนั้น ระบบการบำบัดน้ำเสียสำหรับโรงงาน
                                                                                                      ั
                  อุตสาหกรรมจึงตองอาศัยวิธีการทางเคมีที่มีความยุงยากและซับซอนมากยิ่งขึ้น โดยจำเปนตองอาศย
                  กรรมวิธีการบำบัดทางกายภาพและการกำจัดตะกอน

                                                                      ั
                                    4) การประกาศใชพระราชบัญญตทรัพยากรน้ำ พ.ศ. 2561 ในราชกจจา
                                                                                                    ิ
                                                                        ิ
                  นุเบกษา เลมที่ 135 ตอน 112ก เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2561รัฐควรมีนโยบาย ชวยเหลือเกษตรกร
                                                                 ี
                                                               ี่
                                                                                       
                  คือในเขตชลประทานและ เขตเกษตรยังชีพ เกษตรกรทมพื้นทถอครองมากวาหรือเทากบ 10 ไร รัฐควร
                                                                                          ั
                                                                     ี่
                                                                      ื
                  สนับสนุนบอน้ำในไรนาของกรมพัฒนาที่ดิน ทุกครัวเรือนเพื่อลดความเสี่ยงในการขาดแคลนน้ำ
                          ิ
                  และฝนทงชวง เปนพื้นที่รับน้ำทวม/แกมลิงได และควรชดเชยคาเสียหายจากบริหารภาครัฐใหเหมะสม
                          ้
                                             ี
                                             ่
                            5.2.2.4  พนทเมือง และชุมชนเมืองนาอยู
                                          ้
                                          ื
                                                                               ี
                                                                                                     ื
                                         1) การพัฒนาเมองนาอยู ในปจจุบันเมืองนาอยูมความหมายกวาง คือ เปนเมอง
                                                     ื
                  ที่มีผูบริหารระดับสูงและ ชุมชนที่มีวิสัยทัศนกวางไกล สามารถมองเห็นการเปลี่ยนแปลงที่จะกอใหเกิด
                                                            ั
                  ผลดีตอชุมชนในอนาคต สำนักงานคณะกรรมการพฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2546) ไดกำหนด
                                    ั
                  กรอบความคิดในการพฒนาเมองนาอยูและชุมชนนาอยู รวมกับหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ โดยกำหนดให
                                          ื
                  เมืองนาอยูหรือ ชุมชนนาอยูมีลักษณะสำคัญ 5 ดาน ประกอบดวย 1) ดานสังคม 2) ดานเศรษฐกิจ
                  3) ดานกายภาพ 4) ดานสิ่งแวดลอม 5) ดานการบริหารและการจัดการ ซึ่งจะทำใหทุกคนในเมืองมีสุขภาพ
                  อนามัยที่ดีมีสิ่งแวดลอม สังคมที่ดีและมีคุณภาพชีวิตที่ดี องคการอนามัยโลก (World Health
                                                                         ื
                  Organization) ไดกำหนดลักษณะของเมืองนาอยูไว 11 ประการ คอ
                                            (1) การรักษาความสะอาดดานกายภาพและสิ่งแวดลอมที่มีคุณภาพ
                  รวมทั้งคุณภาพของที่อยู อาศัย
                                            (2) ระบบนิเวศท่ยึดโยงการอยูรวมกันระหวางพืช สัตว และสิ่งแวดลอม
                                                         ี
                                                                     
                  ที่สามารถอยูรวมกันอยางสมดุลยอยางยั่งยืนนาน
                                            (3) ชุมชนมีความเกื้อกูลและไมเอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน
                                            (4) ประชาชนมีสวนรวมอยางกวางขวางในการกำหนดควบคุมและ
                  ตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องที่มีผลกระทบตอคุณภาพชีวิตสุขภาพอนามัยและการกินดีอยูดี
                                            (5) การตอบสนองความจำเปนขั้นพื้นฐาน (อาหาร น้ำ ที่พักอาศัย รายได
                  ความปลอดภัยและการมีงานทำ
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224