Page 216 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 216

5-26





                                  9) สงเสริมใหมีตลาดกลางทุกตำบลหรือทุกอำเภอ เพื่อรวบรวมสินคาเกษตร

                  โดยไมตองผานพอคาคนกลาง และสงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมอยางเปนทางการ เพื่อศูนยแลกเปลี่ยน
                                         ่
                  ความรูและเปนศูนยกลางเชือมโยงขาวสารจากหนวยงานภาครัฐและเอกชนใหเขามาถายทอดเทคโนโลยีและ
                       
                           
                  ความรูใหม ๆ ทำใหกลุมมั่นคงมากขึ้นและทำใหมีอำนาจในการตอรองราคา
                                  10)  แนวคิดหลักของสมารทฟารม คือ การประยุกตใชเทคโนโลยี
                  อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการพัฒนาทั้งหวงโซ 
                                                                                 ่
                                                                                 ื
                                                                                           ุ
                                                                                        ั
                   ุ
                                                                         
                                                                       ึ
                  อปทาน (Supply chain) ของกระบวนการผลิตสินคาเกษตรไปจนถงผูบริโภค เพอยกระดบคณภาพการผลิต
                                                           
                  ลดตนทุน รวมทั้งพัฒนามาตรฐานสินคา สมารทฟารมเปนความพยายามยกระดับการพัฒนาเกษตรกรรม
                  4 ดานที่สำคัญ ไดแก (1) การลดตนทุนในกระบวนการผลิต (2) การเพิ่มคุณภาพมาตรฐานการผลิต
                  และมาตรฐานสินคา (3) การลดความเสี่ยงในภาคเกษตร ซึ่งเกิดจากการระบาดของศัตรูพืชและจาก
                  ภัยธรรมชาติ (4) การจัดการและสงผานความรู โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศจากการวิจัยไปประยุกต 
                  สูการพัฒนาในทางปฏิบัติ และใหความสำคัญตอการใชเทคโนโลยีสารสนเทศของเกษตรกร ซึ่งเทคโนโลยี
                  ที่นำมาใชในการทำสมารทฟารม
                                  11)   สงเสริมใหความรูเรื่องการบริหารจัดการและการรวมกลุมของชุมชน
                  เกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพใหเขมแข็ง หรือรวมกลุมเปน SME (Small and medium Enterprises) คือ
                                                           ึ
                  วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม ครอบคลุมไปถงทั้งการคา การผลิต และการบริการ โดยความหมาย
                                                                   
                                                                         
                  แลวอาจเขาใจไดวาเปนธุรกิจขนาดเล็ก ใครที่มีเงินทุนก็สามารถเปดได การแบงประเภท SME แบงไดดังนี้
                                      (1) ดานการผลิต วิสาหกิจขนาดเล็กมูลคาไมเกิน 50 ลานบาท
                  สวนวิสาหกิจขนาดกลางไมเกิน 200 ลานบาท
                                      (2) ดานการบริการ วิสาหกิจขนาดเล็กมูลคาไมเกิน 50 ลานบาท

                  สวนวิสาหกิจขนาดกลางจะไมเกิน 200 ลานบาทเชนกัน
                                      (3) ดานการคา แบงเปนอีก 2 ประเภท คือ คาสงและคาปลีก โดยคาสง
                                                                                                    
                              ิ
                                                     
                                                       ิ
                                                                                           ิ
                                                                                         
                  ขนาดเล็กไมเกน 50 บาท และขนาดกลางไมเกน 100 ลานบาท สวนคาปลีก ขนาดเล็กไมเกน 30 ลานบาท
                            
                                                                          
                  และขนาดกลางไมเกิน 60 ลานบาท (กรมสรรพากร, 2561)
                                  12)  รณรงคใหมีการสืบทอด และใชประโยชนจากภูมิปญญาทองถิ่นหรือ
                                                                
                                                                       
                                                                                     ิ
                                                                                      ่
                                                                                      ี
                                       ึ
                                              
                  ภูมปญญาชาวบาน หมายถง ความรูของชาวบาน ซงเรียนรูมาจากปู ยา ตา ยาย ญาตพนอง และความเฉลียว
                     ิ
                                                          ่
                                                          ึ
                  ฉลาดของแตละคน หรือผูมีความรูในหมูบานในทองถิ่นตาง ๆ ภูมิปญญาชาวบานเปนเรื่องการทำมาหากน
                                                                                                      ิ
                  เชน การจับปลา การจับสัตว การปลูกพช การเลียงสัตว การทอผา การทำเครืองมอการเกษตร เปนตน
                                                                                  ื
                                                                               ่
                                                 ื
                                                        ้
                                  13)  เสริมสรางความรวมมือของชุมชนเกษตรและชุมชนพื้นที่ตนน้ำ ใน
                                                                                     ี
                  การชวยดูแล และรักษาแหลงน้ำตาง ๆ ที่สรางขึ้น รวมถึงระบบสาธารณูปโภคทมอยู และสรางจิตสำนึก
                                                                                   ี่
                  รวมตอการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                                  14)  ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตเกษตรสู Thailand 4.0 เปนโมเดลพัฒนา
                                                                                                ั
                                                           ุ
                  ประเทศไทยใหม ที่ตองการยกระดับประเทศไทยในทกมติของภาคเศรษฐกิจ และภาคเกษตรเปนตัวขบเคลื่อน
                                                             ิ
                  หลักในยุค Thailand 4.0 (กรุงเทพธุรกิจ, 2560) โดยเนนเรื่อง กลุมอาหาร เกษตรกรรม และ
                  เทคโนโลยีชีวภาพ กลุมสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย กลุมเครื่องมืออุปกรณอัจฉริยะ
                  หุนยนต และระบบเครื่องกลที่ใชอิเล็กทรอนิกสควบคุม กลุมดิจิตอล เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตเชื่อมตอและ
   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221