Page 220 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 220

5-30





                                            (6) มีกลไกการระดมความคิด ประสบการณและทรัพยากรอันหลากหลาย

                  จากการประสานงาน การติดตอและการทำงานรวมกับชุมชน
                                                                       ี่
                                                                                               ี
                                            (7) เปนเมืองทมีระบบเศรษฐกิจทหลากหลาย มีชีวิตชีวาและมนวัตกรรม
                                                       ี่
                  อยูเสมอ
                                            (8) เสริมสรางการเชือมโยงมรดกทางวัฒนธรรม สภาพทางชีวภาพอนดงาม
                                                            ่
                                                                                                 ั
                                                                                                    ี
                  รวมทั้งเอกลักษณของกลุมชนในชุมชนของแตละชุมชน
                                            (9) ใหมีรูปแบบการดำเนินงานที่สามารถขับเคลื่อนใหบรรลุเปาหมาย
                  โดยใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด

                                            (10) มีระบบการใหบริการดูแลความเจ็บปวยที่เหมาะสมสำหรับ
                  ประชาชนทกคน
                            ุ
                                                                                                      ั
                                            (11) มีสภาวะสุขภาพของประชาชนในระดับดีมาก คือ มีสุขภาพอนามย
                  ในระดับสูง และมีอัตราการเจ็บปวยในระดับต่ำ

                                         2) การพัฒนาเมืองใหมอยางยังยืน อันเปนแนวนโยบายเชิงยุทธศาสตรที่ม ี
                  ความสำคัญยิ่งตอการพัฒนาพื้นที่เมืองเพราะการพัฒนาในแนวทางนี้จะตองมีการดำเนินงานที่ประสาน
                                        ่
                                        ึ
                                                 ั
                                                              
                                                                                                      
                                                                                              ี
                  และสนับสนุนสอดคลองซงกันและกนในหลาย ๆ ดานและหลายสาขาพรอม ๆ กันอยางมระบบเปน
                                                                     ี
                                                                     ่
                  เชิงองครวม (Holistic Approach) คือกระบวนการพัฒนาทมีการวางกรอบวิสัยทัศน และแนวทาง
                                        ั้
                                     ั
                                                                                                    ื่
                  พัฒนาที่สอดคลองตองกนทงในดานประชากรทรัพยากร สิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ และสภาพแวดลอมอน ๆ
                  ทางกายภาพที่สรางขึ้น(Built Environment) ทรัพยากรดานศิลปวัฒนธรรม ความรูและวิทยากร
                  สมัยใหม จากแนวความคิดและองคประกอบในการสรางเมืองใหนาอยูดังท่กลาวมาแลวนั้นหลายฝาย
                                                                                 ี
                  ก็มักเกิดคำถามตามมาวา ในเมื่อมีแนวทางแลว ทำอยางไรถึงจะสามารถสรางความนาอยูใหเกิด
                  ขึ้นกับเมืองได (กรมโยธาธิการและผังเมือง, 2554) การจัดทำผังเมือง ที่มีความเปนระเบียบเรียบรอย
                  ความสวยงาม การใชประโยชนในทรัพยสิน ความปลอดภัย สวัสดิภาพของสังคม สิ่งแวดลอม ตลอดจน
                  การดำรงรักษาหรือบูรณะสถานที่ที่มีคุณคาทางศิลปกรรม สถาปตยกรรม ประวัติศาสตร และโบราณคดี
                                       3) เมืองอัจฉริยะ (Smart City) ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีท     ี ่
                  เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว (Disruptive Technology) สงผลกระทบตอไลฟสไตลการดำเนินชีวิตของ
                                                                                         
                                                                                              ี
                                         ิ
                                                     ื
                  ผูคนในสังคม กอใหเกิดแนวคดการพัฒนาเมองอัจฉริยะ (Smart City) โดยนำเทคโนโลยีเขามามสวนรวมใน
                  การวางโครงสรางพื้นฐานระบบงานบริการสาธารณะเพื่อเพิ่มศักยภาพใหเมืองมีประสิทธิภาพมากขน
                                                                                                      ึ
                                                                                                      ้
                  ตอบสนองความตองการของคนทุกเพศทุกวัยไดอยางตรงจุด ซึ่งนั่นหมายถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
                  คนในสังคมเมืองใหดีขึ้น จึงไมนาแปลกใจเลยวาผูบริหารเมืองในยุคนี้ตางนำแนวคิดการสรางเมือง
                  อัจฉริยะ (Smart City) มาพัฒนา และวางแผนเมืองใหมีความนาอยูอยางยังยืน ทั้งนี้ องคประกอบของ
                                                                                ่
                                                                                                     ื
                  เมืองอัจฉริยะ (Smart City) แบงเปน 2 สวนใหญ ๆ ไดแก (1) เทคโนโลยีดิจิทัล ถูกนำมาปรับใชกับเมอง
                  เพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐานระบบบริการสาธารณะผานการวิเคราะหขอมูล Big Data เชน การวิเคราะห
                  ขอมูลความแออัดของการจราจรบนทองถนนเพื่อใหเราสามารถวางแผนการเดินทางได การพัฒนาดาน
                  เทคโนโลยีทางการแพทยที่ผูปวยสามารถเขาถึงระบบดูแลสุขภาพโดยที่ตัวเองยังอยูที่บาน เปนตน
                  (2) ประชาชน ผูคนที่มีความเกี่ยวของกับเมืองคือหัวใจหลักในการออกแบบ และวางแผนพัฒนาเมือง

                                                                                                      ี่
                                                                ี่
                  (User-Centered Design) ผานการเลือกใชเทคโนโลยีทเหมาะสม สอดรับกับรูปแบบการดำเนินชีวิตทม ี
   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225