Page 217 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 217

5-27





                  บังคับอุปกรณตาง ๆ ปญญาประดิษฐ (AI) และเทคโนโลยีสมองกลฝงตัว กลุมอุตสาหกรรมสรางสรรค  

                  วัฒนธรรม และบริการที่มีมูลคาสูง สำหรับภาคเกษตร 4.0 ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ มีนโยบาย
                  ดังนี้
                                      (1)  สงเสริมเกษตรกรใหเขาถึงขอมูลไดงาย

                                      (2)  เพิ่มศักยภาพการผลิตสินคาเกษตรใหเพียงพอตอการบริโภคในประเทศ
                                      (3)  คิดคนและพัฒนานวัตกรรมรวมถึงเทคโนโลยีที่ทันสมัย
                                      (4)  แกไขปญหาหนี้สินของเกษตรกร
                                                   ั
                                      (5)  พฒนาปรับปรุงกฎระเบียบที่มีอยูใหทันสมัย
                                      (6)  เนนทำปศุสัตวแปลงใหญใหความสำคัญกับอาหารสุขภาพ
                                      (7)  เพิ่มมูลคาสินคาเกษตร
                                      (8)  ปรับการผลิตใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
                                      (9)  เนนทำวิจัยและพัฒนาเพิ่มขึ้น

                                      (10) บูรณาการการทำงานรวมกันในทุกกระทรวงที่เกี่ยวของเพื่อให
                  ครอบคลุมทุกมิติ
                                  15)  เกษตรกรควรรวมกลุมกันเขียนโครงการเสนอแกไขปญหาดานทรัพยากร
                  หรือปรับปรุงการแปรรูปผลผลิตสามารถดำเนินการผานกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง หรือกองทน
                                                                                                      ุ
                  ประชารัฐ เพื่อเปนเงินชวยเหลือคนจนเพื่อแกไขปญหาความยากจนอยางยั่งยืน
                                  16)  ปาไมครอบครัว เปนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมบน
                                                                                                     ั
                  ฐานการมีสวนรวมของชุมชน (Community-Based Management) เปนระบบการจัดการที่มีสวนสำคญ
                  ในการรักษาฐานทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน มีนวัตกรรมทางสังคม (Social innovation)

                  ในภาคประชาชน “การจัดการปา" เปนรูปแบบหนึงของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                                                            ่
                  เพื่อสรางปา สรางแหลงอาหาร และสรางเศรษฐกิจชุมชน แนวคิดการปลูกปานอกปา หรือการยกปามา
                                                                                             
                  ไวในบาน จึงเปนนวัตกรรมทางสังคมเพื่อชีวิตและความหลากหลายทางชีวภาพเปนเรื่องใหมที่อยูบนฐาน
                  คิดที่วา ครอบครัวเปนหนวยที่เล็กที่สุดของสังคม และมีบทบาทสำคัญที่สุดตอการเปลี่ยนแปลงตอ
                                                                                                      
                  เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม สิ่งใด ๆ ที่สมาชิกในครอบครัวทำไปเพื่อครอบครัว ที่สมาชิกของ
                                                                                                      ั
                  ครอบครัวเห็นวาคือ ทางออกในการแกปญหา เปนการสรางความมั่นคงทางอาหาร และเศรษฐกิจใหกบ
                  ครอบครัว ความเขมแข็งของครอบครัว คือความเขมแข็งของสังคม ดังนั้น ปาไมครอบครัว

                  เปนนวัตกรรมทางสังคมเพื่อชีวิตและความหลากหลายทางชีวภาพที่สำคัญยิ่ง
                            5.2.2.3  พื้นที่แหลงน้ำ น้ำเปนแหลงกำเนิดชีวิตของสัตวและพืชคนเรามีชีวิตอยูโดย
                  ขาดน้ำไดไมเกิน 3 วัน และน้ำยังมีความจำเปนทั้งในภาคเกษตรกรรม รักษาระบบนิเวศทางน้ำ
                  และอุตสาหกรรม ซึ่งมีความสำคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาประเทศ การบริหารจัดการน้ำอยางยั่งยืน
                                    1) หลักการอนุรักษทรัพยากรน้ำทั้งในเชิงปริมาณและคณภาพ ดังนี้
                                                                                         ุ
                                        (1) การจัดหาแหลงน้ำใหเพียงพอ (Availability of water resource)
                  การจัดหาแหลงน้ำและการเก็บกักน้ำ (Reservoir) การสรางอางเก็บน้ำที่เหมาะสมเพื่อกักเก็บน้ำผิวดิน
                  (Surface water) การสรางฝายหรือระบบจัดเก็บน้ำอื่น ๆ เพื่อปองกันการขาดแคลนน้ำ
   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222