Page 221 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 221

5-31





                                                                                                     ื
                  การเปลี่ยนแปลงไปอยางสม่ำเสมอ ดังนั้นการไดผูบริหารเมืองที่เล็งเห็นถึงความสำคัญของการสรางเมอง
                  อัจฉริยะ (Smart City) คือปจจัยสำคัญในการพัฒนา และวางแผนเมืองอยางชาญฉลาด เพื่อสนับสนุน
                  การทองเที่ยวเมืองรอง
                                                                                         ื่
                                                                  ื
                                       4) การนำแนวคิดการออกแบบเมองสมัยใหม การออกแบบเพอมวลมนุษยชาติ
                  หรือการออกแบบเพื่อการใชงานของคนทุกกลุมในสังคม (universal design; UD) คือการออกแบบ
                  สิ่งแวดลอม สถานที่ และสิ่งของตาง ๆ รวมถึงในกลุมคนทำงานดานผูสูงอายุ คนพิการ และผูดอยโอกาสตาง ๆ
                  ที่มีขอจำกัดในการใช หรือเขาถึงสิ่งแวดลอมสถานที่และสิงของเครื่องใชทั่ว ๆ ไปในสังคม ในการออกแบบ
                                                                 ่
                  จะคำนึงถึงการใชประโยชนที่เปนสากล และใชไดทั่วไปอยางเทาเทียมกันสำหรับมวลมนุษยทุกคนใน

                  สังคม โดยไมตองมการออกแบบดัดแปลงพิเศษหรือเฉพาะเจาะจง เพื่อบุคคลกลุมหนึ่งกลุมใดโดยเฉพาะ
                                 ี
                  การใสใจเพียงนอยนิด ชวยเปลี่ยนชีวิตใหคนทั้งเมือง UD เปนการออกแบบที่คำนึงถึงการใชงานการใช
                  ใหคุมคา สมประโยชน ครอบคลุมสำหรับทุกคน โดยเริ่มตนจากการคิดวาทำอยางไรคนประเภทตาง ๆ
                                                                                                      ั
                  จึงจะมีโอกาสมาใชไดอยางเทาเทียมกน เชน คนสูงอายุ คนปวย สตรีตั้งครรภ คนแคระ เด็กเล็ก ทมากบ
                                                 ั
                                                                                                  ี่
                  รถเข็นเด็ก คนพิการประเภทตาง ๆ ไมวา ตาบอด หูหนวก แขนขารางกายพิการ คนพิการทางปญญาทาง
                  จิต คนที่อานหนังสือไมออก ฯลฯ ถึงแมบุคคลเหลานั้น จะมีขอจำกัดทางรางกาย ทางปญญา ทาง
                  จิตใจ แตก็เปนบุคคล ในสังคม สังคมจึงควรรับผิดชอบดูแล ใหสามารถอยูในสังคมรวมกับบุคคลทั่วไป
                  ไดอยางมีความสุขตามอัตภาพของแตละคน เชน การจัดใหมีทางลาดขึ้นลงทางเทา และอาคารสถานท ี่

                           
                  สาธารณะตาง ๆ ใหกับผูพิการที่ใชรถเข็น หรือบล็อกพื้นนำทางเดินสำหรับคนตาบอด ทั้งนี้ ก็เพื่อใหพวกเขา
                  สามารถใชชีวิตทำกิจกรรมภายนอกบานไดโดยสะดวกและปลอดภัย (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการ
                  สรางเสริมสุขภาพ, 2554) องคประกอบและหลักการของ UD ประกอบดวย 1) fairness ความเสมอ
                  ภาคใชงาน ทุกคนในสังคมสามารถใชไดอยางเทาเทียมกัน ไมมีการแบงแยกและเลือกปฏิบัติ เชนการ

                  ติดตั้งตูโทรศัพทสาธารณะ 2 ระดับ 2) flexibility มีความยืดหยุนในการใชงาน คือสามารถใชไดกับผูท ี ่
                  ถนัดซายและขวา หรือปรับสภาพความสูงต่ำขึ้นลงไดตาม ความสูงของผูใช 3) simplicity มีความเรียบ
                  งายและเขาใจไดดี เชน มีภาพหรือคำอธิบายที่เรียบงายสำหรับคนทุกประเภท ไมวาจะมีความรูระดบ
                                                                                                      ั
                  ไหนอานหนังสือออกหรือไม อานภาษาตางประเทศไดหรือไม หรืออาจใชรูปภาพเปนสัญลักษณสากล

                                                                      ี
                  สื่อสารใหเขาใจไดงาย ฯลฯ 4) understanding มีขอมูลพอเพยง และสำหรับการใชงาน 5) safety ม ี
                  ความทนทานตอการใชงานที่ผิดพลาด เชน มีระบบปองกันอันตรายหากมีการใชผิดพลาด รวมทั้งไม 
                  เสียหายไดโดยงาย 6) energy conservation ทุนแรง เชน ใชที่เปดกอกน้ำแบบยกขึ้น-กดลง แทนการ

                  ใชมือขันกอกแบบเปนเกลียว เปนตน และ 7) space มีขนาดและสถานที่ที่เหมาะสม สามารถใชงาน
                                                                                                   ี
                                                                                                    ื
                  เผื่อสำหรับคนรางกายใหญโต คนที่เคลื่อนไหวรางกายยาก เชน คนพิการที่มีรถเข็นคันใหญตองมพ้นท ่ ี
                                                                                           ี
                                                                                         ี
                           ุ
                  สำหรับหมนรถกลับไปมาในบริเวณหองน้ำ แนวคิดนี้สามารถทำได ฝายหลักตาง ๆ ท่เก่ยวของรวมมือ
                  รวมใจที่จะดำเนินการ ไดแก 1) ภาครัฐ และองคกรทองถิ่น ที่ตองดูแลและสนับสนุนใหมีการจัดสราง
                                                                                             
                  กอสรางในระดับตาง ๆ ใหความสนใจและตระหนักวาจะตองดแลสมาชิกทกคนในสังคมอยางเทาเทยมกัน 2)
                                                                                                ี
                                                                            ุ
                                                               
                                                                   ู
                  ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบ สถาปนิก วิศวกร และผูรับผิดชอบดานการกอสราง รวมทั้ง ผูผลิตใน
                  ฐานะผูออกแบบวางแผนในเชิงรายละเอียดที่ตองใชความรูทักษะพิเศษในการสรางและออกแบบท   ี ่
                            ึ
                                    ุ
                  ครอบคลุมถงมวลชนทกคน และ 3) ผูพิการ ผูสูงอายุ หรือผูมีขีดจำกัดตาง ๆ ในฐานะผูใชบริการจะตอง
   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226