Page 214 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 214

5-24





                  ชุมชนไมมีคาเพื่อเกษตรกร สำหรับไมทางเศรษฐกิจ มีทั้งหมด 58 ชนิด ประกอบดวย ไมสัก พะยูง

                                   ี
                                                                                              ี
                                                                          
                            ิ
                                                                                         ี
                                                                                   
                                                                                      
                                                                  
                                                          
                  ชิงชัน กระซก กระพ้เขาควาย สาธร แดง ประดปา ประดบาน มะคาโมง มะคาแต เค่ยม เคยมคะนอง
                                                                  ู
                                                          ู
                                                                                              ่
                                                                                                 ู
                    ็
                                                                                          ี
                                                         ี
                                                                      
                                              ี
                                   ี
                                                                        ุ
                  เตง รัง พะยอม ตะเทยนทอง ตะเทยนหิน ตะเทยนชันตาแมว ไมสกลยาง สะเดา สะเดาเทยน ตะก ยมหิน
                  ยมหอม นางพญาเสือโครง นนทรี สัตบรรณ ตีนเปดทะเล พฤกษ ปบ ตะแบกนา เสลา อินทนิลน้ำ
                  ตะแบกเลือด นากบุด ไมสกลจำป แคนา กลปพฤกษ ราชพฤกษ สุพรรณิการ เหลืองปรีดียาธร มะหาด
                                         ุ
                                                              
                                                      ั
                                                                       
                  มะขามปอม หวา จามจุรี พลับพลา กันเกรา กะทังใบใหญ หลุมพอ กฤษณา ไมหอม เทพทาโร ฝาง
                             
                     ุ
                                ุ
                                            ุ
                                          
                  ไผทกชนิด ไมสกลมะมวง ไมสกลทุเรียน และมะขาม (สำนักสงเสริมการปลูกปา, 2562)
                            5.2.2.2  พื้นที่เกษตรกรรม การใชและอนุรักษพื้นที่เกษตร ที่เกษตรกรใชผลิตพืชผล
                  และใหเกษตรกรมีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน เพื่อความมั่นคงทางอาหารและพลังงาน และอนุรักษ 
                  ความหลากหลายทางชีวภาพ พืชสมุนไพร ระบบนิเวศดินใหสมบูรณ ดังนี้
                                  1) ปรับปรุงทรัพยากรดินเพื่อการเกษตร โดยการเพิ่มการใชปุยอินทรีย เชน
                  ปุยพืชสด ปุยหมัก ปุยคอก และน้ำหมักชีวภาพ เปนตน รวมกับการใชปุยเคมีอยางมีประสิทธิภาพ
                  และสงเสริมการทำปุยอินทรียและน้ำหมักชีวภาพ (กรมพฒนาทีดน, 2553ก)
                                                                ั
                                                                       ิ
                                                                      ่
                                  2) สงเสริมใหมีมาตรการอนุรักษดินและน้ำ เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ
                  ของดิน เชน การไมเผาตอซัง การปลูกหญาแฝก และทำแนวคันดิน ในการชะลอเก็บกักน้ำโดยเฉพาะ
                  ในพื้นที่มีความลาดชันสูง (กรมพัฒนาที่ดิน)
                                  3) สรางแหลงน้ำในไรนานอกเขตชลประทานใหมากขึ้น เพื่อลดความเสี่ยง
                  ในชวงเวลาฝนทิ้งชวงและใชชวยระบายน้ำเปนแกมลิงในชวงเวลาฝนตกหนัก รวมทั้งขุดลอกแหลงน้ำ
                  สาธารณะ เพื่อเตรียมเก็บกักน้ำไวใชในฤดูแลง
                                  4) ใหความรูแกเกษตรกรในการใชน้ำเพื่อการเกษตรใหเกิดประโยชน
                  สูงสุดและมีการวางแผนการเพาะปลูกพืชใหสอดคลองกับน้ำตนทุน
                                  5) เกษตรกรควรรวมกลุมกันพัฒนาสินคาเกษตรใหไดใบรับรองสิ่งบงชี้
                  ทางภูมิศาสตร (Geographical Indications หรือ GI) เพื่อมูลคาสินคาเกษตร สินคาที่ใชสิ่งบงชี้
                  ทางภูมิศาสตรมักจะเปนสินคาทมีชื่อเสียงและไดรับความนิยม เนื่องจากมีคุณสมบัติพิเศษหรือมลักษณะ
                                            ี่
                                                                                                ี
                                          
                  เฉพาะที่เกิดจากอิทธิพลสิ่งแวดลอมทางภูมิศาสตร เชน สภาพแวดลอม ดิน ฟา อากาศ ของแหลง
                                                            ิ
                                                                                             ิ
                                                                                ั
                  ภูมิศาสตรนั้น ๆ ตลอดจนทกษะความชำนาญและภูมปญญาของกลุมชนท่อาศยอยูในแหลงภูมศาสตรนัน ๆ
                                                                                                    ้
                                        ั
                                                                       
                                                                            ี
                                                ี
                  ประกอบดวย สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรมความแตกตางจากทรัพยสินทางปญญาประเภทอื่น กลาวคอ ผูเปน
                                                                                                ื
                           
                  เจาของไมใชบุคคลหนึ่งบุคคลใดแตเปนกลุมชุมชนที่เปนผูผลิตหรือผูประกอบการในพื้นที่ทางภูมิศาสตรนั้น ๆ
                                                                                                     ี
                               
                                    ่
                                                     ี
                  ซึ่งจะสงผลใหผูผลิตทีอาศัยอยูในสถานท่หรือแหลงภูมิศาสตร และผูประกอบการเกี่ยวกับสินคาท่ใช
                        ้
                              ิ
                                                                                              
                  สิงบงชีทางภูมศาสตรนันเทานัน ทมีสิทธิผลิตสินคาดังกลาวโดยใชชือทางภูมศาสตรนั้นได ผูผลิตคนอื่น
                   ่
                                                                                            
                                               ี
                                           ้
                                               ่
                                                                          ่
                                                                                 ิ
                                     ้
                                         
                  ที่อยูนอกแหลงภูมิศาสตรจะไมสามารถผลิต สินคาโดยใชชื่อแหลงภูมิศาสตรเดียวกันมาแขงขันได
                  สิทธิในลักษณะดังกลาวนี้นักวิชาการบางทานเรียกวา “สิทธิชุมชน” ซึ่งไมสามารถนำสิทธิที่ไดรับไป
                  อนุญาตใหบุคคลอื่นใชตอได ผูที่อยูในพื้นที่แหลงภูมิศาสตรเทานั้นที่มีสิทธิใช สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรนี  ้
                  อาจแบงไดเปน 2 ลักษณะคือ (กรมทรัพยสินทางปญญา, 2559)
                                    (1) สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตรโดยตรง (Direct Geographical Indication)
                  กลาวคือ เปนชื่อทางภูมิศาสตรที่เกี่ยวของกับสินคานั้น ๆ โดยตรง เชน ไชยา เพชรบูรณ เปนตน
   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219