Page 110 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 110

3-40

                                                                                                ี
               สมบัติทางกายภาพดีขึ้น ความหนาแนนรวมของดินลดลง ชองวางในดินมีปริมาณเพิ่มขึ้น และมีเสถยรภาพของ
                                                                                                        ุ
               เม็ดดินเพิ่มขึ้นซึ่งชวยลดปญหาการจับกอนของเม็ดดินเมื่อดินแหง ทำใหโครงสรางของดินดีขึ้น มีความรวนซย
               อากาศถายเทไดสะดวกและระบายน้ำไดดี เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืช อีกทั้งยังชวยสลายตัวใหธาตุ
                                                             
                             1.5   ดินตื้นในที่ดอนถงชั้นลูกรัง กอนกรวด หรือเศษหิน มีเนื้อที่ 107,765 ไร หรือรอยละ
                                                    ึ
               2.48 ของพื้นที่จังหวัด พบในสภาพพื้นที่เปนที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินตื้น
                                                                                                        ิ
               การระบายน้ำดีปานกลางถึงดี เนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดจัด เนื้อดน
               ลางเปนดินรวนปนทรายปนกรวดมาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมากถึงกรดจัด ดินมีความอุดมสมบูรณตาม
               ธรรมชาติต่ำ
                             แนวทางในการจัดการ

                                                                     ี
                             แนวทางในการจัดการพื้นที่ดินดินตื้นจะตองมการจัดการอยางระมัดระวัง คือ
                               -  เลือกพื้นที่ทำการเกษตรที่มีหนาดิน ไมนอยกวา 20 เซนติเมตรและไมมีกอนกรวด
                                                                                                        ้
               หรือลูกรังกระจัดกระจายอยูที่ผิวดินมากนัก สวนพื้นที่ที่เปนดินตื้นมาก และมีเศษชิ้นสวนกอนกรวดหินเนือ
               หยาบปะปนอยูหนาผิวดินจำนวนมากไมเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ ควรใชปลูกไมยืนตนโตเร็ว
                               -  เลือกชนิดพืชปลูกและมีการจัดการที่เหมาะสม หากเปนพืชไรควรเลือกพืชที่ม   ี

               ระบบรากตื้น พืชทนแลงหรือปลูกพืชแบบผสมผสาน สำหรับการปลูกไมผล ไมยืนตน ควรมีการจัดการเฉพาะหลุม
                                                                        
                                                                                                     
                                                                                                        ั
               ขุดหลุมปลูกใหกวางประมาณ 75x75x75 เซนติเมตร นำหนาดินหรือดินจากที่อื่นผสมกับปุยคอกหรือปุยหมก
               รองกนหลุม
                               -  มการเขตกรรมทเหมาะสม ไถพรวนดินใหนอยที่สุดเพอปองกันการชะลางพงทลาย
                                                                                                    ั
                                                    ี่
                                                                                  ื่
                                       ี
               ของดิน
                               -  เพิ่มความอุดมสมบูรณของดินโดยใชปุยอินทรีย ไดแก ปุยหมัก ปุยคอก หรือปลูก
               พืชตระกูลถั่วแลวไถกลบเพื่อเพิมความสามารถในการดูดซับธาตอาหารและน้ำใหแกดนและใชปุยเคมีรวมดวย
                                         ่
                                                                                                       
                                                                    ุ
                                                                                      ิ
               ตามความเหมาะสมกับชนิดพืชที่ปลูก
                               -  การจัดการน้ำที่เหมาะสมจัดหาแหลงน้ำใหพอเพียงกับการเพาะปลูก และมีการให
               น้ำอยางมีประสิทธิภาพ เชน ใหน้ำแบบหยด และใชวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันการระเหยของน้ำและเก็บรักษา
               ความชื้นในดิน

                               -  พื้นที่ที่มีความลาดชันควรมีมาตรการอนุรักษดินและน้ำ ไถพรวน และปลูกพืชตาม
               แนวระดับขวางความลาดเทของพื้นที่ ปลูกพืชคลุม โดยปลูกสลับกับแถวพืชหลักที่ปลูกไวเพื่อลดการชะลาง
               พังทลายของดินหรือปลูกหญาแฝก เปนตน
                               -  ดินตื้นที่มีปฏิกิริยาดินเปนดาง การปลูกพืชในดินประเภทนี้ อาจมีปญหาการขาด

               ธาตุอาหารบางชนิด เชน ฟอสฟอรัส เหล็ก และแมงกานีส ดังนั้น การปลูกพืชในดินดังกลาว จึงควรเลือกชนิด
               พืชที่เหมาะสมพืชที่ชอบสภาพดินกรด เชน ขาวโพด ถั่วลิสง ไมผลบางชนิด เชน ขนุน นอยหนา และมะพราว
                             1.6   พื้นที่ลาดชันเชิงซอน (SC) มีเนื้อที่ 332,039 ไร หรือรอยละ 7.65 ของเนื้อที่จังหวัด
                             1.7  ดินที่ไมมีปญหาในการทำการเกษตร มีเนื้อที่ 658,617 ไร หรือรอยละ 16.70 ของ

               เนื้อที่จังหวัด
                                                                                       ้
                             1.8  พื้นที่อื่น ๆ มีเนื้อที่ 533,704 ไร หรือรอยละ 12.74 ของเนือที่จังหวัด ไดแก พื้นท ี ่
               ชุมชน (U) และพื้นที่น้ำ (W)
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115