Page 106 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 106

3-36

                         2) ทรัพยากรดินมีปญหาทางการเกษตร
                           จากการวิเคราะหสถานภาพทรัพยากรดินจังหวัดกาฬสินธุ พบสภาพทรัพยากรดินที่มีปญหา ดังนี้

                             1.1   ดินกรด มีเนื้อที่ 2,255,071 ไร หรือรอยละ 51.96 ของเนื้อที่จังหวัด แบงเปนในที่ลุม
               มีเนื้อที่ 173,702 ไร หรือรอยละ 4.00 ของเนื้อที่จังหวัด และในที่ดอน มีเนื้อที่ 2,081,369 ไร หรือรอยละ 47.96
               ของเนื้อที่จังหวัด พบในสภาพพื้นที่เปนที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถึงเนินเขา การระบายน้ำเลวถึงดี
               ดินลึกปานกลางถึงลึกมาก เนื้อดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว ดินรวนปนทราย ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถง ึ

               เปนกลาง เนื้อดินลางเปนดินเหนียว ดินรวนปนดินเหนียว ดินรวนเหนียวปนทราย ดินรวนปนทราย ดินรวน
               เหนียวปนทรายปนกรวดมาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมากถึงเปนกลาง ดินมีความอุดมสมบูรณตาม
               ธรรมชาติต่ำถึงปานกลาง

                                                                                           ั
                             แนวทางในการจัดการดินที่เปนกรด ควรจะใชหลายมาตรการประกอบกน คือ
                                                    ี่
                               -  ลดการใชปุยเคมีทมากเกินความตองการของพืช โดยเฉพาะปุยไนโตรเจน (ยูเรีย)
                               -  ในกรณีที่มีน้ำเพียงพอ ควรระบายน้ำที่มีความเปนกรดสูงออกจากแปลง แลวขังน้ำ
                   
               ใหมที่มีสภาพความเปนกรดนอยกวาแทน
                               -  การปรับระดับผิวหนาดินใหมีความลาดเอียงพอที่จะใหน้ำไหลออกสูคลองระบาย

               น้ำได และจัดรูปตกแตงแปลงนาและคันนาใหม เพื่อใหสามารถเก็บกักน้ำและระบายน้ำออกไดตามตองการ
                                                    ื
                               -  การยกรองปลูกพช เปนวิธีการใชสำหรับการปลูกพืชไร ผัก ผลไม หรือไมยืนตนทีให
                                                                                                 
                                                                                                       ่
               ผลตอบแทนทางเศรษฐกจสูง
                                    ิ
                                                                                                        ั
                               -  ปรับปรุงบำรุงดินใหอุดมสมบูรณทำไดหลายวิธีดังนี้ เชน การใชปุยคอก การใชปุยหมก
               การใชปุยพืชสด สวนใหญจะใชพืชตระกูลถั่ว เพราะใหธาตุไนโตรเจนสูง พืชที่นิยมใชเปนปุยพืชสด ไดแก  
               โสนอัฟริกัน โสนอินเดีย ปอเทือง ถั่วเขียว ถั่วพรา ถั่วพุม ถั่วมะแฮะ กระถินยักษ และแหนแดง เปนตน
                               -  ปลูกพืชหมุนเวียน โดยปลูกพืชหลายชนิดหมุนเวียนในพนที่เดียวกัน ควรมีพช
                                                                                       ื
                                                                                       ้
                                                                                                        ื
               ตระกูลถั่ว ซึ่งมีคุณสมบัติบำรุงดินรวมอยูดวยเพื่อใหการใชธาตุอาหารจากดินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพลด
               การระบาด ของศัตรูพืช ตลอดจนชวยใหชั้นดินมีเวลาพักตัวในกรณีพืชที่ปลูกมีระบบรากลึกแตกตางกัน
                             1.2  ดินทรายจัด มีเนื้อที่ 100,664 ไร หรือรอยละ 2.31 ของเนื้อที่จังหวัด แบงเปน
               ในที่ลุม มีเนื้อที่ 639 ไร หรือรอยละ 0.01 ของเนื้อที่จังหวัด และในที่ดอน มีเนื้อที่ 100,025 ไร หรือรอยละ 2.30

               ของเนื้อที่จังหวัด พบในสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย การระบายน้ำดี ดินลึกมาก เนื้อดินบนเปนดินทราย
               ปนดนรวน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถงกรดเล็กนอย เนื้อดินลางเปนดนทรายปนดนรวน ปฏิกริยาดนเปนกรดจัด
                                             ึ
                                                                                 ิ
                                                                       ิ
                                                                                               ิ
                                                                                          ิ
                   ิ
               มากถึงกรดเล็กนอย ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ
                             แนวทางในการจัดการพื้นที่ดินทรายจัดและดินคอนขางเปนทราย คือ
                                                                                                      ี
                               -  ควรเลือกชนิดพืชท่มีศักยภาพเหมาะสมมาปลูกในบริเวณดังกลาว มการ
                                                        ี
               ปรับปรุงบำรุงดินรวมกับมีระบบการอนุรักษดินและน้ำ เชน ในกรณีที่ปลูกขาว ควรไถกลบตอซัง ปลอยทิ้งไว 3-4
               สัปดาห หรือไถกลบพืชปุยสด (โสนอัฟริกัน หรือโสนอินเดีย 4-6 กิโลกรัมตอไร ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน ปลอยไว
               1-2 สัปดาห) รวมกับการใชปุยอินทรียน้ำหรือปุยเคมีสูตร 16-16-8 ใสปุยแตงหนาหลังปกดำ 35-45 วัน
               นอกจากนี้ควรพัฒนาแหลงน้ำไวใชในชวงทขาวขาดแคลนน้ำ หรือใชปลูกขาวครั้งท 2 หรือปลูกพืชไร พืชผัก หรือ
                                                  ี่
                                                                                 ี่
               พืชตระกูลถั่วหลังการเก็บเกี่ยวขาว โดยทำรองแบบเตี้ย ปรับปรุงดินดวยปุยหมักหรือปุยคอก 2-3 ตันตอไร
               รวมกับปุยเคมีหรือปุยอินทรียน้ำ
                               -  ในกรณีปลูกพืชไร พืชผัก หรือไมผล ควรยกรองกวาง 6-8 เมตร คูน้ำกวาง 1.0-1.5

                                                                                                        
               เมตร และมีคันดินอัดแนนลอมรอบ ปรับปรุงดินดวยปุยหมักหรือปุยคอก 2-3 ตันตอไร รวมกับการใชปุย
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111