Page 107 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 107

3-37

               อินทรียน้ำหรือปุยเคมี หรือขุดหลุมปลูกขนาด 50x50x50 เซนติเมตร ปรับปรุงหลุมปลูกดวยปุยหมักหรือปุยคอก
               20-35 กิโลกรัมตอหลุมในชวงเจริญเติบโต กอนเก็บผลผลิตและภายหลังเก็บผลผลิต ใชปุยหมักหรือปุยคอก

               รวมกับปุยอินทรียน้ำหรือปุยเคมี ตามชนิดพืชที่ปลูก พัฒนาแหลงน้ำชลประทานและจัดระบบการใหน้ำใน
               แปลงปลูก
                             1.3  ดินเค็มบก มีเนื้อที่ 265 ไร หรือรอยละ 0.01 ของพื้นที่จังหวัด พบในสภาพพื้นท่ ี
               เปนที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ การระบายน้ำคอนขางเลว เนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย บางแหง

                                                                                                     ิ
               เปนดินรวน ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงกรดเล็กนอย เนื้อดินลางเปนดินทรายปนดินรวน ปฏิกิริยาดนเปน
               กรดปานกลางถึงดางปานกลาง ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ
                             แนวทางในการจัดการ

                               (1) การเพิ่มผลผลิตขาวในนาดินเค็ม
                                 -  ปรับรูปแปลงนาดวยระบบอนุรักษดินและน้ำแบบที่ 1 หรือแบบที่ 2 ทำทาง
               ระบายน้ำเพื่อชะลางเกลือจากแปลงขาว และปรับระดับดินใหสม่ำเสมอกัน
                                                                                     ึ
                                 -  เมื่อฝนตก ขังน้ำในนา ใหน้ำชะลางเกลือที่ผิวหนาดินซมลงไปในดินชั้นลาง และ
               ระบายน้ำเค็มออกจากนา

                                 -  ปลูกโสนอัฟริกันเปนพืชปุยสดปรับปรุงบำรุงดิน
                                 -  ใชอินทรียวัตถุปรับปรุงบำรุงดิน เชน ปุยคอก แกลบ ฟางขาว
                                 -  ใชพันธุขาวทนเค็ม คือ ขาวดอกมะลิ 105 กข6 กข15 เหนียวสันปาตอง ขาวตาแหง

                                 -  ปกดำตนกลาขาวอายุ 30-35 วัน ทำใหอัตราการรอดตายและผลผลิตสูงขึ้น
                                 -  ปกดำ 6-8 ตนตอจับ ระยะปลูก 20x20 เซนติเมตร เพื่อเพิ่มจำนวนตนขาวที่รอดตาย
                                 -  ใสปุยเคมี 16-16-8 อัตรา 30 กิโลกรัมตอไร โดยแบงใส 3 ครั้ง คือ ครั้งแรกใส
               หลังปกดำ 7-10 วัน ครั้งที่สองใสระยะขาวแตกกอสูงสุด และครั้งที่สามใสระยะขาวกำลังตั้งทอง ไมควรใสปุย
                                                                                                        
               รองพื้น เพราะปุยเคมีจะไปเพิ่มคาการนำไฟฟาในดิน

                                                                  ั
                                 -  ฉีดพนน้ำหมักชีวภาพ พด. 2 อตรา 20 ลิตรตอไรแบงใส 4 ครั้ง คือ ชวงเตรียมดิน
               หลังปกดำขาว 30 50 และ 60 วัน
                                 -  ดูแลรักษา และเก็บเกี่ยว หลังเก็บเกี่ยวขาวแลว ควรคลุมดินดวยฟาง ไมปลอย

               ใหหนาดินวาง เพราะจะทำใหน้ำในดินระเหยพาเกลือกลับขึ้นมาสะสมที่ผิวดิน
                               (2) การปรับรูปแปลงนา
                                                                                                     ี่
                                                                                                        ื่
                               ปรับรูปแปลงนาดวยระบบอนุรักษดินและน้ำตามความเหมาะสมกับลักษณะพื้นท เพอ
               ควบคุมระดับน้ำ
                                 -  ระบบอนุรักษดินและน้ำลักษณะแบบที่ 1 ปรับระดับหนาดินใหสม่ำเสมอ ปรับ
               คันนาสูง 0.5 เมตร กวาง 1.5 เมตร ปลูกตนไมทนเค็ม เชน สะเดา ยูคาลิปตัส บนคันนา เมื่อฝนตกน้ำฝนท่ขง ั
                                                                                                        ี
               ในนาจะลางเกลือลงในนาขาวตามแนวดิ่ง
                                 -  ระบบอนุรักษดินและน้ำลักษณะแบบที่ 2 ปรับระดับหนาดินในนาใหสม่ำเสมอ

               ขุดคูรับน้ำเค็มที่ถูกชะลางจากชั้นหนาดิน และรักษาระดับน้ำใตดินไมใหพาเกลือขึ้นมาสะสมที่ดินชั้นบน ปรับ
               คันนาปลูกตนไมทนเค็ม เชน สะเดา ยูคาลิปตัส
                               (3) การใชโสนอัฟริกันเปนปุยพืชสดปรับปรุงบำรุงดินเค็ม
                               โสนอัฟริกันเปนพืชตระกูลถั่วที่ทนเค็ม ขึ้นไดทั้งสภาพน้ำขังและไมมีน้ำขัง มีปมทั้งท ่ ี

               รากและลำตน ทำใหสามารถตรึงไนโตรเจนไดจากดินและอากาศ เจริญเติบโตเร็ว ใหมวลชีวภาพสูง ให
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112