Page 108 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 108

3-38

                                                                                             ้
               ไนโตรเจนปริมาณสูง งายตอการสับกลบ ชวยปรับปรุงบำรุงดิน และสงผลใหผลผลิตขาวเพิ่มขึนประมาณ 30-
               35 เปอรเซ็นต และมีสวนชวยลดความเค็มของดินโดยทางออม คือ ปรับปรุงคุณสมบัติของดินใหรวนซุยโปรง

                                                                                               ั
                                                                                                      ื่
               ขึ้น ทำใหการชะลางเกลือจากหนาดินลงดานลางงายขึ้น ความเค็มของดินลดลง วิธีการปลูกโสนอฟริกนเพอใช
                                                                                                   ั
               เปนปุยพืชสด ดังนี้
                                 -  ระยะเวลาปลูก ควรปลูกในชวงเดือนเมษายนถึงมิถุนายน เพื่อใหโสนอัฟริกน
                                                                                                        ั
               เจริญเติบโตดี และใหมวลชีวภาพสูง
                                 -  การเตรียมดิน ควรไถพรวน 1 ครั้ง เพื่อใหดินอยูในสภาพที่เหมาะสมกับการ
               เจริญเติบโตของพืช หรือหวานเมล็ดโดยไมมีการไถพรวน
                                 -  อัตราเมล็ด 5 กิโลกรัมตอไร เนื่องจากเมล็ดโสนอัฟริกันมีเปลือกหนาและแขง
                                                                                                         ็
               ทำใหเปอรเซ็นตการงอกต่ำ ดังนั้น กอนการปลูกควรแชเมล็ดโสนในน้ำเดือด 1 นาที แลวแชในน้ำเย็น เพื่อให
               การงอกสม่ำเสมอและรวดเร็ว โรยเมล็ดโสนอัฟริกัน เปนแถวหรือหวานใหทั่วแปลง
                                 -  โดยทั่วไปจะสับกลบเมื่อโสนอัฟริกันอายุประมาณ 60 วัน หรือระยะเตรียม
               พื้นที่ปลูกขาว สามารถปกดำขาวไดเมื่อมีปริมาณน้ำเพยงพอ
                                                            ี
                               (4) การปลูกตนไมโตเร็วบนคันนา

                               นาดินเค็มนอยและเค็มปานกลางมักมีน้ำใตดินเค็มอยูตื้นใกลผิวดิน การปลูกตนไมบน
                                                                                                        ็
               คันนาพื้นที่ดินเค็ม เชน กระถินออสเตรเลีย สะเดา ขี้เหล็ก และยูคาลิปตัส สามารถควบคุมระดับน้ำใตดินเคม
                                                                                                    
               ใหอยูที่ความลึกจากผิวดิน คราบเกลือบนผิวดินลดลง และใบไมที่รวงหลนบนดินยังเปนอินทรียวัตถุเพิ่มความ
               อุดมสมบูรณดินได
                               (5) การปรับปรุงบำรุงดินเค็มเพื่อปลูกพืชผักทนเค็ม
                               ในพื้นที่ดินเค็มนอยและเค็มปานกลางที่น้ำไมทวม หรือหลังเก็บเกี่ยวขาวแลวมีน้ำ
               พอเพยง สามารถปรับปรุงบำรุงดินแลวปลูกพืชเศรษฐกิจทนเค็มได โดยดำเนินการดังนี้
                    ี
                                 -  ปรับปรุงดินบำรุงดวยอินทรียวัตถุ คือ แกลบ ปุยคอก ปุยหมัก ปุยพืชสด

               .           - เลือกปลูกพืชทนเค็มที่เหมาะสมกับระดับความเค็มของดิน เชน หนอไมฝรั่ง มะเขือเทศ
               กุยชาย แตง แคนตาลูป บล็อคโคลี่ คะนา
                                 -  ใหน้ำระบบน้ำหยด จะชวยควบคุมความชื้นดิน ความเค็มดิน และประหยัดน้ำไดดี

                                 -  ควรมีการคลุมดินหลังปลูกเพื่อรักษาความชื้นและปองกันการสะสมของเกลือที่ผิวดิน
                             1.4   ดินที่มีชั้นดานดินเหนียว มีเนื้อที่ 266,988 ไร หรือรอยละ 6.15 ของพื้นที่จังหวัด
               แบงเปนในที่ลุม มีเนื้อที่ 50,531 ไร หรือรอยละ 1.16 ของเนื้อที่จังหวัด และในที่ดอน มีเนื้อที่ 216,457 ไร
               หรือรอยละ 4.99 ของเนื้อที่จังหวัด พบในสภาพพื้นที่เปนที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบถงลูกคลื่นลอนลาด
                                                                            
                                                                                           ึ
               เล็กนอย ดินลึก การระบายน้ำคอนขางเลวถงดีปานกลาง เนื้อดินบนเปนดินรวนปนทราย ปฏิกิริยาดินเปนกรด
                                         
                                             
                                                   ึ
               รุนแรงมากถึงกรดปานกลาง เนื้อดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายถึงเหนียว ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมาก
               ถึงกรดเล็กนอย ดินมีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ำ
                             แนวทางในการจัดการ

                                                                                                        ิ
                               การเกิดดินดานมีสาเหตุการเกิดที่แตกตางกัน ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่เกด
               จากมนุษย นอกจากนี้ยังพบวา ชั้นดานที่เกิดขึ้นมีระดับความลึกแตกตางกันดวย ขึ้นอยูกับสภาพการใช
               ประโยชนที่ดินและการเกษตรกรรม ดังนั้น แนวทางการจัดการและปองกันการเกิดชั้นดานจึงแตกตางกน
                                                                                                        ั
               ออกไป ตามสภาพของชั้นดานที่เกิดขึ้นและความเหมาะสมของแตละสภาพพื้นที่ ซึ่งโดยทั่วไปแนวทางการ

               จัดการบนพื้นที่ดินดานมีวิธีการดังตอไปนี้
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113