Page 109 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 109

3-39

                               1. การปลูกพืชทำลายชั้นดาน
                                 พืชหลายชนิดมีระบบรากที่แข็งแรง สามารถเติบโตไชชอนผานชั้นดานที่พืชทั่วไปไม 

               สามารถทำได พืชเหลานี้ ไดแก หญาบาเฮีย (bahiagrass) หญาแฝก (vetiver Grass)
                               2. การควบคุมการใชเครื่องจักรกล
                                 ปญหาการเกิดชั้นดานในดินลางอาจลดลงได หากมีการควบคุมการใชเครื่องจักรกล
               ในพื้นที่เกษตรใหนอยที่สุดเทาที่จำเปน และในขณะที่ดินไมชื้นเกินไป โดยเฉพาะการควบคุมเครื่องจักรกลใน

               การไถพรวนดิน กำจัดวัชพืช การใหน้ำและเก็บเกี่ยวผลผลิตของพืช สำหรับพืชที่ปลูกเปนแถวบนดินเกิดดานใต
               ชั้นไถพรวนไดงาย การควบคุมใหแนวทางเดินของเครื่องจักรกลใหซ้ำทางเดิมอยางเครงครัดและวางแถวปลูก
               พืชใหอยูระหวางแนวลอของเครื่องจักรกลเปนสิ่งจำเปนซึ่งจะทำใหเกิดดานเฉพาะแนวลอรถเครื่องจักรกล

                                                                                                        ื
               สงผลกระทบตอการเติบโตของพืชโดยตรงนอยกวาดานที่เกิดทั่วทั้งพื้นที่รวมทั้งใตแถวปลูกพืชดวย และเม่อ
               พิจารณาจากโครงสรางดินควรมีการไถพรวนดินเมื่อดินมีความชืนที่เหมาะสมไมแหงหรือเปยกเกินไป ซึ่งจะ
                                                                     ้
               สงผลเสียตอโครงสรางดินนอยที่สุด คือ การไถพรวนดินจะทำใหกอนดินแตกตามรอยแยกระหวางเม็ดดินตาม
                                                                       ิ
                            ่
                                             ่
               ธรรมชาติมากทีสุด ระดับความชื้นทีเหมาะสมกับการไถพรวนนี้ในดนทั่วไปมีคาต่ำกวาระดับความชื้นที่ความจุ
               สนามเล็กนอย โดยปกติระดับความชื้นที่ความจุในสนามมักเกิดขึ้นภายใน 1-3 วันหลังจากดินไดรับน้ำจนอมตัว
                                                                                                      ิ่
               สำหรับดินที่ระบายน้ำด ดังนั้น จึงอาจกลาวไดวาสำหรับดินที่ระบายน้ำดี การไถพรวนควรกระทำหลังจากฝน
                                   ี
               ตกหนักแลว 3-5 วัน
                               3. การไถระเบิดดินดาน

                                 การไถระเบิดชั้นดานทำไดโดยการไถดวยไถทมีลักษณะพเศษที่สามารถเจาะและทำ
                                                                                    ิ
                                                                           ี่
               ใหดินชั้นดานแตกกระจายได คือ ไถลึก (deep plowing)หรือไถทำลายดินดาน (subsoiling) ควรไถที่ระดบ
                                                                                                        ั
               ความลึกประมาณ 75 เซนติเมตร โดยระยะหางรอยละ 50 เซนติเมตร การไถตัดดานจะใหผลเต็มที่กตอเมอทำ
                                                                                                 ็
                                                                                                      ื่
                          ี่
                                                                                ิ
                                                                ู
                                         
               การไถขณะทดินมีชั้นดานคอนขางแหง ซึ่งจะทำใหชั้นดานถกทำลายโดยการเกดรอยแตกแยกไดงาย แตการไถ
                                                                                               
                                     
               เมื่อดินแหงเชนนี้ตองใชรถไถที่มีกำลังมาก ถาไถเมื่อดินชื้นเกินไปรอยแตกแยกในดินจะมีเฉพาะรองที่เกิดจาก
                                                                                                        ั
               ตัวไถเทานั้น ดินจะจับตัวเปนกอนโต ในพื้นที่ปลูกพืชไรทั่วไปในการไถระเบิดดานอาจไถเปนแนวเดียวหางกน
               ตั้งแตระยะ 40-80 เซนติเมตร หรืออาจไถเปนสองแนวตัดกันเปนตารางก็ได เมื่อชั้นดานถูกทำลายก็จะทำให
               การแทรกซึมของน้ำเขาสูดินมากขึ้น ชวยใหน้ำมีโอกาสถูกเก็บกักไวในดินชั้นลางมากขึ้นและขณะเดียวกนกเปด
                                                                                                    ั
                                  
                                                                                                      ็
               โอกาสใหรากพืชไดชอนไชเขาในดินลางดวย จึงมีผลชวยใหการเติบโตและใหผลผลิตของพืชดีขึ้น
                               4. การควบคุมความชื้นดิน
                                 ชั้นดานในดินลางจะแข็งจนกระทั่งเปนอุปสรรคตอการแพรกระจายของรากพืชก     ็
                                                                                        
                                                                          ็
                                                                                                      
               ตอเมื่อแหงถงระดับหนึ่งเทานั้น เมื่อมีความชื้นพอเหมาะรากพืชทั่วไปกสามารถไชชอนเขาไปในชั้นดานไดมาก
                                     
                          ึ
               ขึ้น ดังนั้น การรักษาความชื้นในดินชั้นดานใหพอเหมาะจึงสามารถลดผลกระทบของชั้นดานตอการ
               แพรกระจายของรากพืชไดระดับหนึ่ง การควบคุมความชื้นใหพอเหมาะนี้กระทำไดเฉพาะในพื้นที่ที่มีระบบ
               ชลประทานที่ดีเทานั้น ซึ่งในกรณีเชนนี้ปญหาที่พืชจะขาดแคลนน้ำ โดยเหตุที่รากพืชถูกจำกัดดวยชั้นดานก็ม ี
                                                                             ุ
               ปญหาอยูแลว การสงเสริมใหรากพืชแพรกระจายลงในชั้นดานโดยการควบคมความชื้นของชั้นดานใหเหมาะสม
               จึงเปนการสงเสริมใหพืชไดใชประโยชนจากธาตุอาหารพืชในดินชั้นดานและใตดาน
                               5. การเพิ่มอินทรียวัตถ  ุ
               .                 การเพิ่มอินทรียวัตถุใหแกดินสามารถทำไดหลายแนวทาง เชน การใสปุยคอก
               ปุยหมัก การไถกลบพืชปุยสดหรือเศษซากพืชลงไปในดิน การไถกลบเศษวัสดุเหลือใชหรือการจัดการวัสดุเหลือ

                                                                                          ุ
               ใชที่มีอยูในไรนาใหเกิดประโยชนสูงสุดหรือการใชเปนวัสดุคลุมดิน เปนตน ซึ่งอินทรียวัตถเหลานี้ชวยใหดินม ี
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114