Page 115 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 115

3-45





                         3.3.3 การประเมินคุณภาพที่ดิน

                                                              ่
                                                 ิ
                            การประเมินคุณภาพที่ดนเปนขั้นตอนทีมีความสำคัญตอการวางแผนการใชทีดินใหเกิดผล
                                                                                             ่
                  ตามเปาหมาย โดยการพิจารณาจากศักยภาพของหนวยทรัพยากรที่ดินตอการใชประโยชนที่ดินแตละ
                  ประเภทในระดับการจัดการที่แตกตางกัน การประเมินคุณภาพที่ดินมีวิธีการประเมินหลายวิธี เชน
                  หลักการประเมินคุณภาพที่ดินของกระทรวงเกษตรแหงประเทศสหรัฐอเมริกา (USDA) สำหรับกรม
                  พัฒนาที่ดินไดยึดถือหลักการประเมินตามวิธีประเมินคุณภาพที่ดินของ FAO Framework ค.ศ. 1983
                  ซึ่งมีวิธีการประเมินคุณภาพที่ดินที่สามารถทำได 2 รูปแบบ ไดแก รูปแบบแรก การประเมินทางดาน
                  คุณภาพ (Qualitative Land Evaluation) เปนการประเมินเชิงกายภาพเทานั้น วาดินนั้น ๆ มีความ

                  เหมาะสมมากนอยเพียงใดตอการใชประโยชนที่ดินประเภทตาง ๆ และรูปแบบที่สอง การประเมิน
                  ทางดานปริมาณหรือดานเศรษฐกิจ (Quantitative Land Evaluation หรือ Economic Evaluation)
                  โดยการประเมินจากคาตอบแทนในรูปผลผลิตที่ไดรับ ตัวเงินในการลงทุนและตัวเงินจากผลตอบแทนท ่ ี
                  ไดรับ ซึ่งในการประเมินคุณภาพที่ดินสำหรับการวางแผนการใชที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ ไดเลือกใชเฉพาะ

                  การประเมินทางดานคุณภาพเทานั้น โดยไมไดมีการประเมินทางดานปริมาณหรือดานเศรษฐกิจรวมดวย
                            การประเมินประเมินคณภาพที่ดินทางดานคุณภาพ ในระบบ FAO ไดกำหนดคณภาพทดิน
                                               ุ
                                                                                             ุ
                                                                                                    ี่
                  ที่นำมาประเมินสำหรับการปลูกพืชไวทั้งหมด 25 ชนิด สำหรับประเทศไทยคุณภาพที่ดินที่นำมาประเมน
                                                                                                      ิ
                                                                  ั้
                                                                                                     ี่
                  มี 13 ชนิด ซึ่งในขึ้นตอนการประเมินหากนำคุณภาพที่ดินทงหมดมาใชในการพิจารณา อาจทำใหผลทได
                  ไมตรงกับความจริง จึงมีความจำเปนตองนำคุณภาพที่ดินแตละชนิดมาจัดลำดับความสำคัญกอนที่จะ
                  เลือกใชเปนตัวแทนคุณภาพที่ดินที่นำมาใชในการประเมิน ตามเงื่อนไขในการคัดเลือกคุณภาพที่ดินวา
                  จะตองมีครบอยางนอย 3 ประการ ไดแก 1) ตองมีผลตอพืชหรือประเภทการใชที่ดินนั้น ๆ 2) คาวิกฤต ิ
                  ตองพบในพนทที่จะปลูกพชนั้น ๆ 3) การรวบรวมขอมลสามารถปฏิบัติได เมื่อพจารณาตามเงอนไขการ
                            ื้
                                                                                               ื่
                                                               ู
                                                                                    ิ
                                        ื
                               ี่
                  คัดเลือกคุณภาพที่ดิน สามารถกำหนดคุณภาพที่ดินที่ใชในการประเมินได 7 ชนิด ดั้งนี้
                                                                                          
                              1) ความชุมชื้นที่เปนประโยชนตอดิน (m) ปจจัยในการพิจารณา ไดแก ไดแก ปริมาณ
                                                                                                
                                                                                             
                  น้ำฝนเฉลียในรอบป
                          ่
                              2) ความเปนประโยชนของออกซิเจนตอรากพืช (o) ปจจัยในการพิจารณา ไดแก     
                  สภาพการระบายน้ำของดิน
                              3) ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร (s) ปจจัยในการพิจารณา ไดแก ระดับความ
                                                                                            
                  อุดมสมบูรณของดิน
                                                                                  
                              4) การดูดยึดธาตุอาหาร (n) ปจจัยในการพิจารณา ไดแก ความจุแลกเปลี่ยนแคต
                  ไอออน และความอิ่มตัวเบสในชั้นดินบน
                              5) สภาวะการหยั่งลึกของราก (r) ปจจัยในการพิจารณา ไดแก ความลึกของดิน
                                                                                   
                                                   ่
                                                                                                    ื้
                              6) ศักยภาพการใชเครืองจักร (w) ปจจัยในการพิจารณา ไดแก ความลาดชันของพนท ี่
                                                                                    
                                                                                                    ้
                              7)  ความเสียหายจากการกดกรอน (e) ปจจัยในการพิจารณา ไดแก ความลาดชันของพนท  ่ ี
                                                                                     
                                                     ั
                                                                                                    ื
                             การจำแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดิน (Land Suitability Classification) ตามหลักการ
                  ของ FAO Framework ไดจำแนกอันดับความเหมาะสมของที่ดินเปน 2 อันดับ (Order) คือ
                               1) อันดับที่เหมาะสม (Order S, suitability)
                                2) อันดับที่ไมเหมาะสม (Order N, not suitability)
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120