Page 116 - แผนการใช้ที่ดินจังหวัดกาฬสินธุ์ 2566
P. 116

3-46





                                และจาก 2 กลุมไดแบงยอยออกเปน 4 ชั้น (class) ดังนี้

                              S1 :  ชั้นที่มีความเหมาะสมสูง (Highly suitable)
                                           ี
                                       ้
                              S2 :  ชันทมความเหมาะสมปานกลาง (Moderately suitable)
                                          ่
                                          ี
                              S3 :  ชั้นที่มีความเหมาะสมเล็กนอย (Marginally suitable)
                              N  :  ชั้นที่ไมมีความเหมาะสม (Not suitable)
                                                                                                      ั
                           นอกจากนี้ในแตละชั้นความเหมาะสมสามารถแบงเปนชั้นยอย (Subclass) ซึ่งเปนขอจำกด
                  ของคุณภาพที่ดินที่มีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตของพืช ซึ่งในการจำแนกตามชั้นความเหมาะสมของทดิน
                                                                                                    ี่
                  ในระดับชั้นยอยไดใชคุณภาพที่ดิน 7 ชนิด ดังอธิบายไวขางตน มาพิจารณาประเมินเพื่อใหทราบถง
                                                                                                      ึ
                  คุณภาพที่ดินที่เปนขอกำจัดตอการเจริญเติบโตและใหผลผลิตของพืช รวมถึงแนวทางการจัดการที่ดน
                                                                                                      ิ
                  เพื่อลดอิทธิพลของขอกำกัดในแตละหนวยที่ดินในจังหวัดกาฬสินธุ
                           ผลการประเมินความเหมาะสมที่ดินจำแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดินในระดับชั้นยอย
                  สำหรับขาว ออยโรงงาน มันสำปะหลัง ยางพารา ปาลมน้ำมัน มะมวง และกลวย ในพื้นที่จังหวัด

                  กาฬสินธุ ตามเขตพื้นที่เกษตรที่อาศัยน้ำฝนและเขตพื้นที่เกษตรที่มีการใชน้ำจากชลประทาน
                  รายละเอียดดังตารางที่ 3 - 17 และ 3 - 18
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121