Page 86 - Land Use Plan of Thailand
P. 86

3-18





                                       สภาพปัญหาของดินตื้นมีชั้นลูกรัง ก้อนกรวด หรือเศษหินปะปน ท้าให้เป็น

                  อุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช และการไถพรวน มีความอุดมสมบูรณ์ต่้า ความสามารถในการดูดซับน้้า
                  และธาตุอาหารต่้า เนื้อดินเหนียวมีน้อยท้าให้การเกาะยึดตัวของเม็ดดินไม่ดี เกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย

                                       ดินตื้นแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้

                                       (1) ดินตื้นในพื้นที่ลุ่มถึงชั้นลูกรัง หรือก้อนกรวด มีเนื้อที่ 5,715,409ไร่ ได้แก่
                  กลุ่มชุดดินที่ 25

                                       (2) ดินตื้นในพื้นที่ดอนถึงชั้นลูกรัง ก้อนกรวดหรือเศษหิน มีเนื้อที่ 17,298,357ไร่
                  ได้แก่กลุ่มชุดดินที่ 45 46 48 และ49


                                       (3) ดินตื้นในพื้นที่ดอนถึงชั้นหินพื้น มีเนื้อที่ 9,783,590ไร่ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่
                  47 51และ61

                                       (4) ดินตื้นในพื้นที่ดอนถึงชั้นมาร์ลหรือก้อนปูน มีเนื้อที่ 1,412,035ไร่ ได้แก่
                  กลุ่มชุดดินที่ 52

                                       (5) ดินในพื้นที่ดอนที่มีหินโผล่ มีเนื้อที่ 3,983,058ไร่ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่มี RL RC

                                         การแจกกระจายของพื้นที่ดินตื้น

                                         ดินตื้นมีเนื้อที่รวมทั้งประเทศ 38,192,449ไร่ พบกระจายอยู่ในภาค
                  ตะวันออกเฉียงเหนือมากที่สุด 15,591,223ไร่ รองลงมา คือ ภาคเหนือ 11,856,992ไร่ ภาคตะวันออก

                  5,119,663 ไร่ ภาคกลาง 3,317,178 ไร่ และภาคใต้ 2,307,393 ไร่ ตามล้าดับ

                               2)  ดินปัญหาที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                                   พื้นที่ดินปัญหาที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ที่ดิน มีผลมาจากการใช้ที่ดินอย่างไม่ถูกวิธี
                  มีวิธีการจัดการที่ไม่เหมาะสม หรือปราศจากการท้านุบ้ารุงดินอย่างเหมาะสมและต่อเนื่อง ดินที่มีปัญหา
                  จากการใช้ประโยชน์เหล่านี้มีศักยภาพในการให้ผลผลิตในการเพาะปลูกต่้า ถ้าไม่มีการปรับปรุงแก้ไข

                  หรือพัฒนาด้วยวิธีการที่เหมาะสมนอกจากนี้ยังรวมถึงพื้นที่ดินปัญหาที่เกิดจากสภาพธรรมชาติ เช่น
                  ดินเค็ม ดินเปรี้ยวจัด ที่อาจจะมีเนื้อที่และข้อจ้ากัดในการใช้ประโยชน์รุนแรงเพิ่มขึ้น เนื่องจากสภาพ
                  ธรรมชาติต่างๆ ถูกท้าให้เปลี่ยนแปลงหรือท้าให้เสียสมดุลโดยการกระท้าของมนุษย์ เช่น
                  การแพร่กระจายของดินเค็มเนื่องมาจากการท้าลายป่าไม้ หรือการพัฒนาแหล่งน้้าในบริเวณที่มีเกลือ
                  สะสมอยู่มาก ท้าให้น้้าใต้ดินซึ่งมีความเค็มถูกยกระดับให้สูงขึ้นและพาเอาเกลือที่ละลายอยู่ในน้้าขึ้นมาสู่

                  ผิวดินได้ ดังนั้นจึงจ้าเป็นต้องมีการแก้ไขฟื้นฟูและปรับปรุงบ้ารุงดิน หรือจัดการให้ถูกต้องตามสภาพของ
                  ปัญหาก่อน รวมถึงการป้องกันการแพร่กระจายพื้นที่ดินปัญหาร่วมด้วย เพื่อที่จะน้าที่ดินเหล่านี้มาใช้
                  ประโยชน์ต่อไปได้

                                   (1)  ดินดาน

                                       ดินดานที่พบกระจายตัวในพื้นที่ปลูกพืชไร่เกิดจากการเขตกรรมที่ผิดวิธีการไถ

                  พรวนด้วยเครื่องจักรกลขนาดใหญ่ ในขณะที่ดินมีความชื้นไม่เหมาะสม หรือดินชื้นมากเกินไป และการ
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91