Page 73 - Land Use Plan of Thailand
P. 73

3-5





                  อูน และล้าน้้าสาขาต่างๆ และ 2) บริเวณตอนใต้-แอ่งรับน้้าโคราช มีแม่น้้าสายหลัก ได้แก่ แม่น้้าชี มูล น้้า

                  พอง น้้าเชิญ และล้าน้้าสาขา ประกอบไปด้วยพื้นที่ของจังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ สุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะ
                  เกษ อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด ยโสธร มหาสารคาม ขอนแก่น และกาฬสินธุ์

                                   ทรัพยากรดินในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย

                                   (1)  ดินในพื้นที่ราบลุ่ม พื้นที่ราบลุ่มหรือพื้นที่น้้าขัง ส่วนใหญ่พบบริเวณที่ราบตะกอน
                  น้้าพา ตะพักล้าน้้า ที่ราบระหว่างเนิน สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ช่วงฤดูฝนมีน้้าแช่ขังแฉะมี

                  ระดับน้้าใต้ดินอยู่ใกล้ผิวดิน การระบายน้้าค่อนข้างเลวถึงเลว มีสีเทาหรือสีเทาอ่อน จุดประสีตลอดหน้าตัด
                  ดิน ที่บ่งบอกถึงการมีน้้าแช่ขังในหน้าตัดดิน ปฏิกิริยาดินส่วนใหญ่เป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง ความ
                  อุดมสมบูรณ์ต่้า ประกอบด้วย 14 กลุ่มชุดดิน โดยจ้าแนกตามกลุ่มเนื้อดินอย่างกว้างๆ ได้ 5 กลุ่ม ดังนี้

                                       -  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียวปนทราย
                  แป้งหรือดินเหนียว ส่วนดินล่างเป็นดินเหนียว หรือดินเหนียวปนทรายแป้ง บางบริเวณอาจได้รับอิทธิพลของ

                  หินปูนหรือหินอัคนี ท้าให้มีเนื้อดินเป็นดินเหนียวจัด ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 1 4 6 และ 7

                                       -  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินร่วน มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนปนทราย ดินร่วน
                  ปนทรายแป้ง ส่วนดินล่างเป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียว ดินร่วนปนทราย ดินร่วนเหนียวปนทราย หรือดินร่วน
                  เหนียวปนทรายแป้ง ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 15 16 17 18 19 22 และ 59

                                       -  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินทราย มีเนื้อดินทั้งบนและล่างเป็นดินทราย หรือดินทราย
                  ปนดินร่วน ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 24

                                       -  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินตื้น มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินร่วนเหนียว

                  ส่วนดินล่างเป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียวหรือดินเหนียวปนกับกรวดหรือลูกรัง ปริมาณเท่ากับหรือมากกว่าร้อย
                  ละ 35 โดยปริมาตร ภายในความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 25

                                       -  กลุ่มชุดดินที่เป็นดินเค็ม พบในบริเวณที่มีหินเกลือรองรับ ดินบนเป็นดินร่วน
                  ดินร่วนปนทราย ส่วนดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวหรือดินร่วนเหนียวปนทราย ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 20

                                   (2)  ดินบริเวณพื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินแห้ง ดินมีช่วงนานและแห้งติดต่อกันมากกว่า
                  45 วัน หรือแห้งรวมกันมากกว่า 90 วัน ในรอบปี หากไม่มีระบบชลประทาน การเพาะปลูกพืชจะท้าได้ใน

                  เฉพาะฤดูฝนเท่านั้น มีการท้าการเกษตรกรรมบริเวณสันดินริมน้้า ตะพักล้าน้้าระดับกลางและระดับสูงและ
                  บริเวณพื้นที่ที่เหลือค้างจากการกัดกร่อนที่เกิดจากขบวนการปรับระดับของพื้นที่ สภาพพื้นที่มีตั้งแต่
                  ราบเรียบ ลูกคลื่น เนินเขา มีระดับน้้าใต้ดินอยู่ลึกกว่า 2 เมตร การระบายน้้าดีปานกลาง ดีหรือดีมากเกินไป

                  ดินส่วนใหญ่มีสีน้้าตาล สีเหลือง หรือสีแดง และอาจพบจุดประสีเล็กน้อย ปฏิกิริยาดินมีตั้งแต่เป็นกรดจัดถึง
                  เป็นกรดเล็กน้อย ความอุดมสมบูรณ์ต่้า มักพบอิทธิพลของชั้นวัตถุต้นก้าเนิดดินพวกหินตะกอนในหน้าตัดดิน
                  ประกอบด้วย 20 กลุ่มชุดดิน โดยจ้าแนกตามกลุ่มเนื้อดินอย่างกว้างๆ ได้ 4 กลุ่ม ดังนี้

                                       -  กลุ่มเนื้อดินที่เป็นดินเหนียว มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วน ดินร่วนเหนียวปน
                  ทรายแป้งหรือดินเหนียว ส่วนดินล่างเป็นดินเหนียว หรือดินเหนียวปนทรายแป้ง ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 28

                  29 31 54 และ 55
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78