Page 108 - Land Use Plan of Thailand
P. 108

3-40





                                       -  อ้อย มีเนื้อที่ประมาณ 15.95 ล้านไร่ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีเนื้อที่

                  เพาะปลูกมากที่สุด แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดขอนแก่น นครราชสีมา และอุดรธานี รองลงมา
                  ได้แก่ ภาคกลาง แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดลพบุรี กาญจนบุรี และสุพรรณบุรี และในภาคเหนือ
                  แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดนครสวรรค์ ก้าแพงเพชร และเพชรบูรณ์

                                       -  มันส้าปะหลัง มีเนื้อที่ประมาณ 14.38 ล้านไร่ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี
                  เนื้อที่เพาะปลูกมากที่สุด แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ และอุดรธานี รองลงมา
                  ได้แก่ ภาคเหนือ แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดก้าแพงเพชร นครสวรรค์ และเพชรบูรณ์ และในภาค
                  ตะวันออก แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดสระแก้ว ฉะเชิงเทรา และชลบุรี
                                       -  ข้าวโพด มีเนื้อที่ประมาณ 7.80 ล้านไร่ โดยภาคเหนือมีเนื้อที่เพาะปลูก

                  มากที่สุด แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดเพชรบูรณ์ เชียงราย และน่าน รองลงมาได้แก่ ภาค
                  ตะวันออกเฉียงเหนือ แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดเลยชัยภูมิ และนครราชสีมา และในภาคกลาง
                  แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดสระบุรี กาญจนบุรี และลพบุรี

                                   (3)  พื้นที่ไม้ยืนต้น มีเนื้อที่ 42,868,837 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 13.37 ของเนื้อที่
                  ประเทศ ภาคใต้เป็นภาคที่มี่เนื้อที่ไม้ยืนต้นมากที่สุด 22,727,585 ไร่ รองลงมาได้แก่ ภาค
                  ตะวันออกเฉียงเหนือ 9,834,459 ไร่ และภาคกลางเป็นภาคที่มีเนื้อที่ไม้ยืนต้นน้อยที่สุด 1,777,274 ไร่
                  โดยมีไม้ยืนต้นที่ส้าคัญ ดังนี้

                                       -  ยางพารา มีเนื้อที่ประมาณ 30.44 ล้านไร่ โดยภาคใต้ มีเนื้อที่เพาะปลูก
                  มากที่สุด แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี สงขลา และนครศรีธรรมราช รองลงมาได้แก่
                  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดอุดรธานี อุบลราชธานี และเลย และใน
                  ภาคตะวันออก แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดระยอง จันทบุรี และฉะเชิงเทรา

                                       -  ปาล์มน้้ามัน มีเนื้อที่ประมาณ 6.19 ล้านไร่ โดยภาคใต้ มีเนื้อที่เพาะปลูก
                  มากที่สุด แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ชุมพร และกระบี่ รองลงมาได้แก่ภาค
                  ตะวันออก แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดชลบุรี ตราด และระยอง และในภาคกลาง แหล่ง
                  เพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพชรบุรี และราชบุรี

                                       -  ยูคาลิปตัส มีเนื้อที่ประมาณ 3.93 ล้านไร่ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                  มีเนื้อที่เพาะปลูกมากที่สุด แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดนครราชสีมา อุดรธานี และบุรีรัมย์
                  รองลงมาได้แก่ภาคตะวันออก แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดสระแก้ว ปราจีนบุรี และฉะเชิงเทรา

                  และในภาคกลาง แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี และเพชรบุรี
                                   (4)  พื้นที่ไม้ผลมีเนื้อที่ 10,298,430 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 3.21ของเนื้อที่ประเทศ
                  ภาคเหนือเป็นภาคที่มีเนื้อที่ไม้ผลมากที่สุด 3,455,511 ไร่ รองลงมาได้แก่ ภาคใต้2,061,557ไร่ และภาค
                  ตะวันออกเฉียงเหนือเป็นภาคที่มีเนื้อที่ไม้ผลน้อยที่สุด 966,435 ไร่โดยมีไม้ผลที่ส้าคัญดังนี้
                                       -  ไม้ผลผสม มีเนื้อที่ประมาณ 2.90ล้านไร่ โดยภาคใต้ มีเนื้อที่เพาะปลูกมาก

                  ที่สุด แหล่งเพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดชุมพร นราธิวาส และยะลา รองลงมาได้แก่ภาคกลาง แหล่ง
                  เพาะปลูกที่ส้าคัญ คือ จังหวัดกาญจนบุรี เพชรบุรี และสมุทรสาคร และในภาคเหนือ แหล่งเพาะปลูกที่
                  ส้าคัญ คือ จังหวัดสุโขทัย เชียงใหม่ และตาก
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113