Page 104 - Land Use Plan of Thailand
P. 104

3-36





                  ลูกบาศก์เมตรและขนาดเล็กมีปริมาณน้้าเก็บกักจ้านวน 2,210 ล้านลูกบาศก์เมตรตามล้าดับ

                  (คณะกรรมการก้าหนดนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า, 2558ง: 2, 2-1 ถึง 2-58)

                        3.3.4  สภาพปัญหาของทร ัพยากรน้้าไทย

                               1)  การขาดแคลนน้้าและปัญหาภัยแล้ง ประเทศไทยได้ประสบปัญหาภัยแล้งมาหลาย
                  ครั้งและมีแนวโน้มว่าจะเกิดขึ้นบ่อยครั้งกว่าในอดีตการเกิดภัยแล้งใน พ.ศ.2558 ท้าให้น้้าในอ่างเก็บน้้า
                  ขนาดใหญ่หลายแห ่งมีปริมาณน้อยจนถึงปัจจุบันถึงแม้ว่าจะเข ้าส ู่ช่วงปลายฤด ูฝน (เดือนกันยายน) แล้ว

                  ก็ตาม เช่น เมื่อวันท ี่ 19 กันยายน พ.ศ. 2559 มีปริมาณน้้าใช้การได้ในเขื่อนภูมิพลเพียง 1,524 ล้าน
                  ลูกบาศก์เมตรหรือร้อยละ 16 อ่างเก็บน้้าล้าตะคองมีจ้านวน 39 ล้านลูกบาศก์เมตรหรือร้อยละ 13 อ่าง
                  เก็บน้้าล้าพระเพลิงมีจ้านวน 18 ล้านลูกบาศก์เมตรหรือร้อยละ 12 อ่างเก็บน้้าแก่งกระจานมีจ้านวน
                  104 ล้านลูกบาศก์เมตรหรือร้อยละ 12 เท่านั้นซึ่งกล่าวได้ว่ามีปริมาณค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับ
                  พ.ศ.2558 เพราะได้ใช้น้้าที่มีอยู่ในขณะน ั้นไปเพื่อกิจกรรมต่างๆ ในช ่วงท ี่ผ ่านมาด ้วยข ้อเท ็จจริงด ังกล ่าว

                  น ี้พร ้อมก ับข้อมูลความต ้องการใช ้น้้าท ี่ประเมินไว ้แล ้วถ ึงแม้ว ่าจะมีการเตรียมการไว้ล ่วงหน ้าตามท ี่ปรากฏ
                  ในย ุทธศาสตร์ท ี่ 2 การสร้างความมั่นคงของน้้าภาคการผลิตแล้วก็ตามแต่เพิ่งด้าเนินการได้บางส่วนยัง
                  ไม่บรรลุตามเป้าหมายอาจเก ิดปัญหาขาดแคลนน้้าขึ้นได ้หากม ีปริมาณฝนน ้อยกว ่าปกต ิเหม ือนในช ่วง พ.ศ.

                  2557-2558 (โสภณ, 2559: 19-30 ถึง 19-31)

                               2)  อุทกภัยที่เกิดขึ้นในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2559 ในหลายพื้นที่ของภาคเหนือท้าให้มี
                  ผู้เสียชีวิตในจังหวัดน่านพะเยาเชียงรายและแม่ฮ่องสอนรวม 9 รายตลอดจนทรัพย์สินและพื้นที่
                  เกษตรกรรมก็ได้รับความเสียหายเช่นเดียวกันถึงแม้ว่าจะมีแผนการด้าเนินงานที่ก้าหนดไว้ในกลยุทธ์ที่
                  3 การจัดการน้้าท่วมและอุทกภัยไว้แล้วก็ตามแต่แผนการด้าเนินการต่างๆ นั้นเพิ่งเริ่มมาประมาณ 1 ปี

                  จึง ท้าให้การรองรับสถานการณ์อุทกภัยยังคงไม่บรรลุเป้าหมายดังที่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณ
                  ภัยได้ รายงานเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2559 ว่ามีน้้าท่วมในพื้นที่หลายจังหวัดจึงกล่าวได้ว่ายังคงมี
                  โอกาสเกิด อุทกภัยขึ้นในภาคต่างๆ ของประเทศหากมีปริมาณฝนมากกว่าปกติ (กรมปองกันและ
                  บรรเทาสาธารณภัย, 2559: 1)


                               (3)  คุณภาพน้้าถึงแม้ว่าจะมีการจัดตั้งองค์การน้้าเสียขึ้นด้าเนินการในเรื่องคุณภาพน้้าก็
                  ตามแต่ยังคงมีปัญหาตามที่คณะกรรมการก้าหนดนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า (2558: 2-8)
                  โดยในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2558 ประเทศไทยมีคุณภาพน้้าอยู่ในเกณฑ์ที่ดีร้อยละ 29 พอใช้ร้อยละ 49
                  และเสื่อมโทรมร้อยละ 22 ของแหล่งน้้าหลักทั่วประเทศ (จ้านวน 25 แหล่งน้้า) ไม่พบคุณภาพน้้าที่อยู่ใน
                  เกณฑ์ดีมากและเสื่อมโทรมมากอย่างไรก็ตามคุณภาพน้้าในช่วง 10 ปี ย้อนหลัง (พ.ศ. 2548 - 2557)

                  พบว่าแหล่งน้้าที่อยู่ในเกณฑ์ดีมีแนวโน้มลดลงขณะที่แหล่งน้้าที่อยู่ในเกณฑ์พอใช้ และเสื่อมโทรมมีแนวโน้ม
                  เพิ่มขึ้นสาเหตุส้าคัญของปัญหาคุณภาพน้้าเสื่อมโทรมมาจากการระบายน้้าเสียจากชุมชนการชะหน้าดินที่มี
                  ปุ๋ยตกค้างจากการเกษตรและการปศุสัตว์โดยในปี พ.ศ. 2557 มีปริมาณน้้าเสียจากชุมชนเกิดขึ้น 10.3 ล้าน

                  ลูกบาศก์เมตร ขณะที่ระบบบ้าบัดน้้าเสียรองรับน้้าเสียเกิดขึ้นได้เพียงร้อยละ 31 พื้นที่ที่มีน้้าเสียชุมชน
                  เกิดขึ้นมากที่สุดคือ กรุงเทพมหานครโดยมีน้้าเสียประมาณ 2 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวัน ในขณะที่ระบบ
                  บ้าบัดน้้าเสียในพื้นที่กรุงเทพมหานครสามารถบ้าบัดน้้าเสียได้ร้อยละ 38 ของปริมาณน้้าเสียที่เกิดขึ้น
                  (คณะกรรมการก้าหนดนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรน้้า, 2558จ: 2, 2-30)
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109