Page 90 - rubber
P. 90

3-22





                              5.3 การพัฒนาบุคลากร

                              5.4 การส่งเสริมการใช้ยางพาราภายในประเทศ และการพัฒนาอุตสาหกรรมแปรรูป

                  ผลิตภัณฑ์ยางพารา
                        3.2.5 นโยบายกรมพัฒนาที่ดิน
                            กรมพัฒนาที่ดินได้จัดท้าแผนการพัฒนาที่ดินในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

                  แห่งชาติฉบับที่ 12 โดยมียุทธศาสตร์ส้าคัญ 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่

                            1) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรดินด้วยการส้ารวจจ้าแนกดิน วิเคราะห์ดิน
                  และวางแผนการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบ

                            2) เพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยงานวิจัยและเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน

                  เชิงนวัตกรรม
                            3) บริหารจัดการทรัพยากรดินอย่างสมดุลและยั่งยืนด้วยการฟื้นฟูปรับปรุงดิน และอนุรักษ์ดินและน ้า

                            4) สร้างและพัฒนาความเข้มแข็งให้กับหมอดินอาสา เกษตรกร และภาคีเครือข่าย

                            5) พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดินบนพื นฐานการมีส่วนร่วม
                            6) พัฒนาองค์กรส ู่ความเป็นเลิศด้านการพัฒนาที่ดิน

                             ทั งนี การวางแผนการใช้ที่ดินถือเป็นยุทธศาสตร์ที่ส้าคัญ เพื่อให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพ

                  การบริหารจัดการทรพยากรดิน จึงมีการจัดท้าแผนการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพาราขึ น เพื่อตอบสนอง
                  และสนับสนุนแผน/นโยบายกรมพัฒนาที่ดินให้มีการพัฒนาต่อไป


                  3.3  ศักยภาพ โอกาสและข้อจ ากัดในการผลิต และการตลาด

                        จุดแข็ง
                        1) เกษตรกรชาวสวนยางส่วนใหญ่ในภาคใต้ และภาคตะวันออก มีภูมิปัญญาและประสบการณ์

                  ในการท้าสวนยางมายาวนาน
                        2) ประเทศไทยมีศักยภาพและมีความสามารถในการแข่งขันสูงในเรื่องการผลิตและการแปรรูป

                  ยางพารา โดยเฉพาะยางแผ่นรมควัน ซึ่งไทยเป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออกรายใหญ่ที่สุดของโลกต่อเนื่องมาเป็นเวลา

                  ไม่ต่้ากว่า 20 ปี
                        3) ประเทศไทยมีสภาพพื นที่และภูมิอากาศที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพาราจ้านวนมาก

                  ประกอบกับมีเทคโนโลยีการผลิตยางพาราที่ก้าวหน้าสามารถเพิ่มผลผลิตได้ ทั งโดยการเพิ่มพื นที่ปลูก

                  และเพิ่มผลผลิตต่อหน่วยพื นที่
                        4) มีหน่วยงานที่รับผิดชอบในการส่งเสริมการปลูก การวิจัยและพัฒนายางโดยเฉพาะ และมี

                  เงินทุนสนับสนุนในการปลูกและการวิจัยยางอย่างต่อเนื่องโดยทั งภาครัฐและภาคเอกชน









                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95