Page 91 - rubber
P. 91

3-23





                        5) ยางธรรมชาติมีคุณสมบัติที่ยางสังเคราะห์ไม่สามารถทดแทนได้ เช่น ในอุตสาหกรรมการผลิต

                  ล้อยานพาหนะจ้าเป็นจะต้องใช้ยางธรรมชาติเป็นวัตถุดิบหลักในการผลิต โดยที่การใช้ยางสังเคราะห์

                  มาทดแทนยางธรรมชาติในการผลิตล้อยานพาหนะยังไม่สามารถทดแทนได้ ซึ่งอุตสาหกรรมการผลิต
                  ล้อยานพาหนะเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมส้าคัญที่ใช้ยางธรรมชาติสูงกว่าอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง

                  ประเภทอื่น ๆ สะท้อนให้เห็นถึงจุดแข็งและความส้าคัญของยางธรรมชาติ

                        6) ยางพารามีความหลากหลายของการแปรรูปยางดิบที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตยาง
                  ในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง

                        7) ประเทศไทยมีสภาพพื นที่ที่เหมาะสมต่อการปลูกยางพารา
                        8) ประเทศไทยมีผลผลิตและส่งออกยางธรรมชาติเป็นอันดับ 1 ของโลก

                        9) โรงงานผลิตภัณฑ์ยางพาราที่ตั งอยู่ในประเทศไทยมีความได้เปรียบเรื่องต้นทุนหลายรายการ

                  เมื่อเทียบกับการตั งโรงงานในประเทศจีน
                        10) ประเทศไทยมีนโยบายและมาตรการของภาครัฐที่เอื อประโยชน์ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพารา

                  ในส่วนของต้นน ้า มีกฎหมายและหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องยางพาราโดยเฉพาะ
                        จุดอ่อน

                        1) เกษตรกรชาวสวนยางส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายย่อย มีลักษณะการผลิตเป็นการผลิตแบบ
                  ครอบครัว ใช้ระบบกรีดถี่มีจ้านวนวันกรีดมาก ซึ่งการใช้ระบบกรีดที่ถี่เกินไปจะส่งผลเสียระยะยาวต่อ

                  ต้นยางพารา และท้าให้ผลผลิตต่อครั งกรีดน้อยกว่าระบบกรีดห่างของสวนยางขนาดใหญ่ ส่งผลให้ต้นทุน

                  ต่อกิโลกรัมสูงขึ น และก้าไรที่เกษตรกรควรจะได้รับจากผลผลิตลดลงด้วย
                        2) ช่องทางการจ้าหน่ายในประเทศมีจ้ากัดเพราะมีผู้ซื อน้อยราย ท้าให้เกิดการผูกขาดราคารับซื อยาง

                        3) ต้นทุนการผลิตยางแปรรูปของไทยสูงกว่าประเทศคู่แข่งอื่น ๆ เนื่องจากค่าแรงงานและต้นทุนพลังงาน
                  ของไทยสูงกว่าโดยเปรียบเทียบ

                        4) ประเทศไทยไม่สามารถก้าหนดราคาเองได้ เนื่องจากยางพาราของไทยเป็นสินค้าที่ผลิตเพื่อ

                  ส่งออกกว่าร้อยละ 80 และที่ส้าคัญ คือ ยางพาราเป็นสินค้าโภคภัณฑ์ (Commodity) จึงถูกก้าหนดราคา
                  จากอุปสงค์และอุปทานในตลาดโลก ท้าให้ไทยต้องอยู่ในฐานะผู้ยอมรับราคา (Price Taker) อีกทั ง

                  ลักษณะสินค้าของยางพาราที่เป็นการแปรรูปอย่างง่ายและสินค้ามีความแตกต่างกันน้อย (Low Product

                  Differentiation) ท้าให้อุตสาหกรรมยางพาราของไทยเผชิญการแข่งขันสูง นับเป็นปัญหาเชิงโครงสร้าง
                  ที่ไทยได้เผชิญและต้องยอมรับความผันผวนของราคายางที่ถูกก้าหนดมาจากตลาดโลกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

                        5) ประเทศไทยส่งออกยางธรรมชาติที่อยู่ในรูปวัตถุดิบหรือยางแปรรูปเป็นส่วนใหญ่ จึงต้องพึ่งพา
                  ตลาดต่างประเทศเป็นหลัก ท้าให้มีความเสี่ยงในด้านราคา และจะเสียโอกาสในการสร้างมูลค่าเพิ่ม

                        6) ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมยางแปรรูปของไทยส่วนใหญ่เป็นกิจการขนาดกลาง และขนาดเล็ก

                  ยังมีข้อจ้ากัดด้านเงินทุนและเทคโนโลยีการผลิต





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96