Page 89 - rubber
P. 89

3-21





                            กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ดังนี

                              1.1 การเพิ่มรายได้ครัวเรือนเกษตรกรชาวสวนยางและการพัฒนาศักยภาพของ

                  เกษตรกรชาวสวนยางสู่การเป็น Smart Farmer
                              1.2 การส่งเสริมการรวมกลุ่มจัดตั งเป็นสถาบันเกษตรกรชาวสวนยางและการสนับสนุน

                  การท้าสวนยางในรูปแปลงใหญ่

                              1.3 การพัฒนาสถาบันเกษตรกรชาวสวนยางให้มีการบริหารงานแบบมืออาชีพ
                  และมีขีดความสามารถในการท้าธุรกิจ

                              1.4 การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพให้กับกลุ่มเกษตรกรชาวสวนยางรุ่นใหม่

                            ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเพิ่มประสิทธิภาพ และการยกระดับคุณภาพและมาตรฐาน
                            กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ประกอบด้วย 3 กลยุทธ์ ดังนี
                              2.1 การบริหารจัดการพื นที่การผลิตและปริมาณผลผลิตยางพารา

                              2.2 การเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและการแปรรูปยาง/ไม้ยางพารา

                              2.3 การพัฒนาคุณภาพ และยกระดับมาตรฐานสินค้าตลอดห่วงโซ่อุปทาน
                            ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม
                            กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ดังนี

                              3.1 การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา และการพัฒนา/จัดหาเทคโนโลยีและนวัตกรรม

                  ที่เกี่ยวกับยาง/ไม้ยางพารา
                              3.2 การเพิ่มจ้านวนนักวิจัย และการต่อยอดผลงานวิจัยในเชิงพาณิชย์

                              3.3 การพัฒนา/การจัดหาเทคโนโลยีและนวัตกรรม หรือระบบการบริหารจัดการ

                  เพื่อรองรับการขาดแคลนแรงงานคนในสวนยาง
                              3.4 การประสานความร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศ และประชาคมวิจัยระดับนานาชาติ

                            ยุทธศาสตร์ที่ 4 : การพัฒนาตลาดและช่องทางการจัดจ้าหน่าย

                            กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ดังนี
                              4.1 การพัฒนาตลาดยางที่ซื อขายโดยมีการส่งมอบจริงให้เป็นตลาดที่ทั่วโลกใช้ในการอ้างอิง

                              4.2 การพัฒนาการตลาด และช่องทางการจัดจ้าหน่ายผลิตภัณฑ์ยางพาราภายในประเทศ

                              4.3 การพัฒนาการตลาด และช่องทางการจัดจ้าหน่ายผลิตภัณฑ์ยางพาราในต่างประเทศ
                              4.4 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านยางพารา

                            ยุทธศาสตร์ที่ 5 : การพัฒนาปัจจัยสนับสนุน

                            กลยุทธ์ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ดังนี
                              5.1 การปรับปรุงแก้ไข และการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับยางพารา

                              5.2 การพัฒนาโครงสร้างพื นฐาน





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94