Page 92 - rubber
P. 92

3-24





                        7) สินค้ายางแปรรูปของไทยพึ่งพาตลาดส่งออกเป็นหลัก ขณะเดียวกันยังมีตลาดกระจุกตัวอยู่

                  ในประเทศจีน ท้าให้มีความเสี่ยงสูงหากจีนหันไปน้าเข้าสินค้าจากประเทศอื่นแทน

                        8) ยางพาราเป็นวัตถุดิบในการอุตสาหกรรม มีความต้องการใช้ยางพาราเป็นความต้องการต่อเนื่อง
                  ต้องพึ่งพาตลาดต่างประเทศและเศรษฐกิจโลก

                        9) ชาวสวนยางส่วนใหญ่ปลูกยางเป็นพืชเชิงเดี่ยว หรือปลูกยางเพียงชนิดเดียว จึงมีความเสี่ยง

                  ในความผันผวนของราคา เนื่องจากไม่มีการกระจายความเสี่ยงไปผลิตสินค้าอื่น และยางเป็นสินค้าที่พึ่งพา
                  การส่งออกเป็นหลัก

                        10) ไม่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้เทคโนโลยีขั นสูงบางอย่างได้ เช่น การผลิตยางยานพาหนะ
                  ชิ นส่วนอะไหล่บางชนิด จ้าเป็นต้องพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ

                        11) อ้านาจทางการต่อรองทางการตลาดยางพาราเป็นของผู้ใช้ยาง ซึ่งมีอิทธิพลในการซื อขาย

                  ในตลาดทั งในและต่างประเทศ
                        12) นโยบายที่ไม่ต่อเนื่องเปลี่ยนแปลงบ่อยครั งและชะงักงัน รวมทั งมักถูกยกขึ นเป็นปัญหาทางการเมือง

                        13) ค่าแรงงาน ค่าที่ดิน ปัจจัยการผลิตที่สูงขึ น และจ้านวนแรงงานในสวนยางมีแนวโน้มขาดแคลน
                  ทั งในปัจจุบันและอนาคต

                        14) การปลูกยางนอกเขตพื นที่เหมาะสม ท้าให้ต้นทุนการผลิตสูง

                        15) มีสวนยางบางส่วนรุกล ้าพื นที่ป่าสงวนและอุทยานแห่งชาติ
                        โอกาส

                        1) การขยายตัวของประชากรโลกเพิ่มขึ นท้าให้ความต้องการใช้ยางธรรมชาติเพิ่มขึ นด้วย และ
                  ความต้องการใช้ยางธรรมชาติของโลกยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่องในระยะยาวแม้ว่าในช่วงที่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ

                  ความต้องการใช้ยางพาราก็ยังมีอยู่
                        2) การตื่นตัวและให้ความส้าคัญในการป้องกันรักษาสุขภาพ ทั งในภาคอุตสาหกรรมและภาคครัวเรือน

                  เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคระบาดสายพันธุ์ใหม่ ๆ เช่น เชื อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) เป็นต้น

                  ส่งผลให้อุตสาหกรรมถุงมือยางมีการเติบโตดีขึ น
                        3) การเปิดประชาคมอาเซียน ท้าให้การค้าและการลงทุนขยายตัวมากขึ น

                        4) การรวมตัวของประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติรายใหญ่ของโลกสร้างอ้านาจต่อรอง และความเป็นธรรม

                  ในด้านเสถียรภาพราคายาง ท้าให้เกษตรกรมีความมั่นคงทางรายได้
                        5) ความต้องการใช้ยางธรรมชาติและราคาที่เพิ่มขึ นอย่างต่อเนื่อง จูงใจให้มีการขยายพื นที่ปลูก

                  ยางพารากระจายอยู่ในทุกภูมิภาคของไทย และดึงดูดให้ผู้ประกอบการเข้าไปตั งโรงงานอุตสาหกรรมในพื นที่

                  รวมทั งขยายการด้าเนินงานอย่างต่อเนื่อง
                        6) ความผันผวนของราคายางพาราและอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราท้าให้ผู้ประกอบการ

                  ในต่างประเทศที่ใช้ยางแปรรูปขั นต้นเป็นวัตถุดิบต้องปรับแผนการจัดหาวัตถุดิบ โดยเข้ามาท้าข้อตกลง





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยางพารา                             กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97