Page 35 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจไพล
P. 35

2-23





                  เบสต่ า ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-6.5 ดินล่างมีเนื้อดินเป็น

                  ดินร่วนเหนียวปนทราย หรือดินเหนียวปนกรวดมาก และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0-5.5
                                    ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินลึกปานกลาง มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า
                  เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย บางแห่งดินเป็นกรดจัดมาก ในบริเวณที่มีความลาดชันสูง จะมีปัญหาการชะล้าง

                  พังทลายของหน้าดิน ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ใช้ปลูกยางพารา ไม้ผล สับปะรด กล้วย และแตงโม
                            3.10)  หน่วยที่ดินที่ 51 51B 51BI 51C 51CI 51D และ51E
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินตื้น การระบายน้ าดี
                  ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า อัตราร้อยละความอิ่มตัวเบสต่ า ดินบน
                  มีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนกรวด และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.0 ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว

                  ปนกรวดมากถึงชั้นหินพื้น และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.5
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินตื้น มีเศษหินปะปนอยู่ในเนื้อดินเป็น
                  ปริมาณมาก และมีชั้นหินพื้นอยู่ตื้น ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะเกิดการ

                  ชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นป่าดิบชื้น บางแห่งใช้ปลูกยางพารา หรือปล่อย
                  ทิ้งเป็นป่าละเมาะ
                            3.11)  หน่วยที่ดินที่ 53 53I 53B 53BI 53C 53CI 53D และ53E
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกปานกลาง

                  การระบายน้ าดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนปานกลางถึงค่อนข้างสูง อัตรา
                  ร้อยละความอิ่มตัวเบสต่ า ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0-5.5 ดิน
                  ล่างมีเนื้อดินเป็นดินเหนียว หรือดินเหนียวปนกรวดมาก และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.5
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินลึกปานกลาง พบชั้นก้อนกรวด หรือ

                  ลูกรังในระดับความลึก 50-100 เซนติเมตร จากผิวดิน และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ในบริเวณพื้นที่มี
                  ความลาดชันสูง จะเกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ใช้ปลูกยางพารา ไม้ผล
                  กาแฟ และพืชไร่บางชนิด
                          4) กลุ่มชุดดินที่มีความลาดชันสูง

                            พบในพื้นที่ภูเขา และเทือกเขา ที่มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 62
                            4.1)  หน่วยที่ดินที่ 62
                                หน่วยที่ดินนี้ประกอบด้วยพื้นที่ภูเขา และเทือกเขาซึ่งมีความลาดชันมากกว่า 35

                  เปอร์เซ็นต์ ลักษณะ และสมบัติของดินที่พบไม่แน่นอน มีทั้งดินลึก และดินตื้น ลักษณะของเนื้อดิน และ
                  ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดของหินต้นก าเนิดในบริเวณนั้น มักมีเศษหิน
                  ก้อนหิน หรือพื้นโผล่กระจัดกระจายทั่วไป ส่วนใหญ่ยังปกคลุมด้วยป่าไม้ประเภทต่างๆ เช่น ป่าเบญจ
                  พรรณป่าเต็งรัง หรือป่าดงดิบชื้น หลายแห่งมีการท าเกษตรกรรมประเภทท าโดยปราศจากมาตรการใน
                  การอนุรักษ์ดิน และน้ า ซึ่งเป็นผลท าให้เกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดิน จนบางแห่งเหลือแต่หินโผล่

                  ดินกลุ่มนี้ไม่ควรน ามาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร เนื่องจากมีปัญหาหลายประการที่มีผลกระทบต่อ
                  ระบบนิเวศ ควรสงวนไว้เป็นป่าตามธรรมชาติเพื่อรักษาแหล่งต้นน้ าล าธาร










                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจไพล                         กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40