Page 33 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจไพล
P. 33

2-21





                  ร้อยละความอิ่มตัวเบสต่ า ดินมีเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินบนมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0-6.5 และดิน
                  ล่างมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.5

                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ บางบริเวณอาจพบดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า
                  และดินเป็นกรดจัดมาก ในบริเวณพื้นที่มีความลาดชันสูง จะมีอัตราเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดินสูง
                  หากมีการจัดการดินไม่เหมาะสม ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกยางพารา ไม้ผลต่างๆ และพืชไร่บางชนิด บางแห่ง
                  ยังคงสภาพป่าธรรมชาติ
                            3.2)  หน่วยที่ดินที่ 27 27B 27BI 27C 27CI และ27D
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน ดินลึกมาก

                  การระบายน้ าดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า อัตราร้อยละความอิ่มตัว
                  เบสต่ า ดินมีเนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินบนมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.5-7.0 และดินล่างมีค่าความเป็นกรด
                  เป็นด่าง 4.5-5.5
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ การขาดแคลนน้ าได้ง่ายโดยเฉพาะในระยะฝนทิ้งช่วง
                  และบางพื้นที่ดินเป็นกรดจัดมาก ในบริเวณที่มีความลาดชัน อาจเกิดปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน
                            3.3)  หน่วยที่ดินที่ 32 32I 32gm 32gmI 32B 32BI 32Bgm และ32C
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินลึกมาก

                  การระบายน้ าดีปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนปานกลาง
                  ถึงค่อนข้างสูง อัตราร้อยละความอิ่มตัวเบสต่ า ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายแป้ง และค่าความเป็นกรด
                  เป็นด่าง 4.5-6.0 ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทรายแป้ง และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-6.0
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ การขาดแคลนน้ าในช่วงฤดูแล้ง และบางพื้นที่
                  อาจมีน้ าท่วมฉับพลันในฤดูน้ าหลาก และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า
                            3.4)  หน่วยที่ดินที่ 34 34I 34gm 34gmI 34B 34BI 34Bgm 34BgmI 34C 34CI

                  34D และ34E
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกมาก การระบายน้ า
                  ดีปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า อัตราร้อยละความอิ่มตัว
                  เบสต่ า ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0-5.5 ดินล่างมีเนื้อดิน
                  เป็นดินร่วนเหนียวปนทราย และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.5
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย ท าให้
                  ความสามารถในการอุ้มน้ าค่อนข้างต่ า และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ในบริเวณที่มีความลาดชันสูง จะมี
                  ปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกยางพารา มะพร้าว ไม้ผล และพืชไร่บาง

                  ชนิด บางแห่งยังคงสภาพป่าธรรมชาติ ป่าละเมาะ และไม้พุ่ม
                            3.5)  หน่วยที่ดินที่ 39 39I 39gm 39gmI 39B 39BI 39Bgm 39C 39CI 39D และ
                  39E
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกมาก การระบายน้ า
                  ดีปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า อัตราร้อยละความอิ่มตัว

                  เบสต่ า ดินมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ดินบนมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.5 และดินล่างมีค่า
                  ความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.5









                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจไพล                         กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38