Page 34 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจไพล
P. 34

2-22





                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทรายอุ้มน้ าได้น้อย

                  มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า และมีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลายของหน้าดินโดยเฉพาะบริเวณพื้นที่มี
                  ความลาดชันสูง
                            3.6)  หน่วยที่ดินที่ 42 42I 42B และ42BI

                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย
                  ดินลึกปานกลาง การระบายน้ าค่อนข้างมาก ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า
                  อัตราร้อยละความอิ่มตัวเบสต่ า ดินมีเนื้อดินเป็นดินทรายปนดินร่วน ดินบนมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                  4.5-6.0 และดินล่างมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0-6.0
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า และเนื้อดินเป็นทรายจัด

                  ไม่มีธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืชหลงเหลืออยู่ และพืชมักแสดงอาการขาดธาตุอาหารให้เห็น และมี
                  ชั้นดานอินทรีย์ภายในความลึก 50-100 เซนติเมตร ในช่วงฤดูแล้งชั้นดานจะแห้ง และแข็งมาก รากพืช
                  ไม่สามารถไชชอนผ่านไปได้ ส่วนในช่วงฤดูฝนจะมีน้ าแช่ขัง ดินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นป่าเสม็ด ป่าชายหาด

                  ป่าละเมาะ บางแห่งใช้ปลูกมะพร้าว ไพล หิมพานต์ และพืชไร่บางชนิด เช่น มันส าปะหลัง อ้อย และ
                  สับปะรด เป็นต้น
                            3.7)  หน่วยที่ดินที่ 43 43I 43gm 43gmI 43B 43BI และ43C
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินลึกมาก

                  การระบายน้ าดีปานกลางถึงค่อนข้างมาก ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า
                  อัตราร้อยละความอิ่มตัวเบสต่ า ดินมีเนื้อดินเป็นดินทรายปนดินร่วน ดินบนมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                  5.0-6.5 และดินล่างมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0-6.0
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินเป็นทรายจัด ท าให้มีความสามารถ

                  ในการอุ้มน้ าต่ ามาก พืชจะแสดงอาการขาดน้ าอยู่เสมอ นอกจากนี้ดินยังมีความอุดมสมบูรณ์ต่ ามาก
                  กลุ่มชุดดินนี้ใช้ปลูกพืชไร่ เช่น มันส าปะหลัง สับปะรด ปอ ส่วนไม้ยืนต้น ได้แก่ มะพร้าว บางแห่งเป็น
                  ป่าละเมาะ หรือทุ่งหญ้าธรรมชาติ
                            3.8)  หน่วยที่ดินที่ 45 45I 45gm 45gmI 45B 45BI 45Bgm 45BgmI 45C 45CI

                  45Cgm 45D และ45E
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินตื้น การระบายน้ า
                  ดีปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า อัตราร้อยละความอิ่มตัว

                  เบสต่ า ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนกรวด และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 5.0-6.0 ดินล่างมีเนื้อดิน
                  เป็นดินเหนียวปนกรวดมาก และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง 4.5-5.5
                                ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เป็นดินตื้นถึงชั้นลูกรัง พบเศษหินก้อนกรวด
                  หรือลูกรังภายในระดับความลึก 50 เซนติเมตร จากผิวดิน มีความอุดมสมบูรณ์ต่ า บริเวณที่มีความลาดชันสูง
                  จะมีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย ดินกลุ่มนี้ใช้ปลูกยางพารา มะพร้าวหรือไม้ผล

                  บางชนิด บางแห่งเป็นที่รกร้างว่างเปล่า หรือทุ่งหญ้าธรรมชาติ
                            3.9)  หน่วยที่ดินที่ 50 50I 50gm 50B 50BI 50C 50CI 50D และ50E
                                พบในสภาพพื้นที่ราบเรียบ หรือค่อนข้างราบเรียบถึงเนินเขา ดินลึกปานกลาง การระบายน้ า

                  ดีปานกลางถึงดี ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนต่ า อัตราร้อยละความอิ่มตัว





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจไพล                         กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39