Page 37 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจไพล
P. 37

2-25





                              2) โครงการพัฒนาแหล่งน ้าผิวดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                                โครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดินภาคตะวันออกเฉียงเหนือแบ่งเป็นโครงการ  ขนาดใหญ่
                  จ านวน 20 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 8,146 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 2,460,676 ไร่

                  โครงการขนาดกลาง จ านวน 334 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 1,672 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน
                  1,420,655 ไร่ โครงการขนาดเล็ก จ านวน 5,131 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 907 ล้านลูกบาศก์เมตร
                  พื้นที่ชลประทาน 55,309 ไร่ และโครงการสูบน้ าด้วยไฟฟ้า จ านวน 1,262 โครงการ พื้นที่ชลประทาน

                  2,355,039 ไร่
                              3) โครงการพัฒนาแหล่งน ้าผิวดินภาคกลาง

                                โครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดินภาคกลางแบ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่ จ านวน 44 โครงการ
                  ปริมาณน้ าเก็บกัก 29,184 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 10,506,020 ไร่ โครงการขนาดกลาง
                  จ านวน 73 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 374 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 498,184 ไร่ โครงการ

                  ขนาดเล็ก จ านวน 1,285 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 277 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 105,755 ไร่
                  และโครงการสูบน้ าด้วยไฟฟ้า จ านวน 81 โครงการ พื้นที่ชลประทาน 126,250 ไร่
                              4) โครงการพัฒนาแหล่งน ้าผิวดินภาคตะวันออก

                                โครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดินภาคตะวันออกแบ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่
                  จ านวน 6 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 847 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 1,413,855 ไร่
                  โครงการขนาดกลาง จ านวน 66 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 570 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน

                  663,415 ไร่ โครงการขนาดเล็ก จ านวน 843 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 51 ล้านลูกบาศก์เมตร
                  พื้นที่ชลประทาน 51,239 ไร่ และโครงการสูบน้ าด้วยไฟฟ้า จ านวน 104 โครงการ พื้นที่ชลประทาน

                  211,983 ไร่
                              5) โครงการพัฒนาแหล่งน ้าผิวดินภาคใต้
                                โครงการพัฒนาแหล่งน้ าผิวดินภาคใต้แบ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่ จ านวน

                  8 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 7,123 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 1,316,594 ไร่ โครงการขนาดกลาง
                  จ านวน 80 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 263 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 1,080,615 ไร่ โครงการ
                  ขนาดเล็ก จ านวน 2,217 โครงการ ปริมาณน้ าเก็บกัก 98 ล้านลูกบาศก์เมตร พื้นที่ชลประทาน 226,427 ไร่

                  และโครงการสูบน้ าด้วยไฟฟ้า จ านวน 131 โครงการ พื้นที่ชลประทาน 225,895 ไร่


                  2.5  การใช้ประโยชน์ที่ดิน
                        ไพลมีถิ่นก าเนิดอยู่ในเอเชียแถบประเทศอินเดีย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย พืชชนิดนี้มีเขต
                  การแพร่กระจายพันธุ์ทั่วไปในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยนั้นพบได้ทั่วทุกภาคของประเทศ

                  แต่นิยมน าไปปลูกกันมากในแหล่งปลูกที่ส าคัญ ได้แก่ จังหวัด กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ปราจีนบุรีและ
                  สระแก้ว (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2559)
                            จากการส ารวจพื้นที่ภาคสนามในแหล่งปลูกที่ส าคัญ พบว่า

                             - กลุ่มวิสาหกิจชุนชนสมุนไพรรวมมิตรชุมชนบ้านเปียะ ต าบลศรีดอนชัย อ าเภอเชียงของ
                  จังหวัดเชียงราย มีการปลูกขมิ้นชัน ไพล ตะไคร้หอม มีการปลูกแบบหัวไร่ปลายนา ชาวบ้านปลูกพืช





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจไพล                         กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน  กรมพัฒนาที่ดิน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42