Page 218 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 218

ผก-14




                  สีคล้ าไม่สม่ าเสมอ น้ าหนักเบา เนื้อใบเลว ไม่มีรูปร่างและความยืดหยุ่น ต้นยาสูบที่ปลูกในดินทรายจัดหรือ

                  หลังฝนตกหนักมักแสดงอาการ เนื่องจากแมกนีเซียมถูกชะล้างได้ง่าย
                             สาเหตุ : การขาดอาตุโบรอน (boron deficiency)
                             อาการ : สังเกตได้ชัดที่ส่วนยอดและเนื้อเยื่อเจริญของต้นยาสูบ โดยใบอ่อนสีเขียวซีด ที่ส่วน

                  ของโคนใบจะซีดมากกว่าที่ปลายใบ ใบชะงักการเจริญเติบโต ต่อมาจะบิดงอ หัก ฉีกขาด สีด า และแห้งตาย
                  ในที่สุด ส่วนยอดของต้นจะบิด ซึ่งเมื่อยอดตายจะมีลักษณะเหมือนการก าจัดยอด ท าให้ใบที่เหลือหนาและ
                  กว้าง ส่วนของปลายใบมักม้วนเข้าหาฐานใบ ใบสีจางผิดปกติ ใบเรียบแข็งกระด้างและเปราะ
                  ต้นยาสูบจะชะงักการเจริญเติบโต
                             การแก้ไข : ฉีดพ่นธาตุอาหารที่ขาดให้ทางใบ


                             แมลงและการป้องกันก าจัด
                             แมลงหวี่ขาว (white fly; Bemisia tabaci Gennadius)
                             เป็นแมลงที่ดูดกินน้ าเลี้ยงของพืช และเป็นพาหะของโรคใบหดที่เกิดจากเชื้อวิสา มีความส าคัญ
                  ในแปลงเพาะกล้า เนื่องจากมีพืชอาศัยหลายชนิดจึงสามารถด ารงชีพได้ตลอดปีและขยายพันธุ์ได้

                  อย่างรวดเร็ว
                             การแพร่กระจาย : ระบาดมากในช่วงฤดูฝน แต่ถ้ามีฝนตกเกิน 12 มิลลิเมตรต่อวันติดต่อกัน
                  4-5 วัน ปริมาณแมลงหวี่ขาวจะลดลง
                             การป้องกันก าจัด :

                                1. ท าลายวัชพืชที่ขึ้นในไร่และบริเวณโดยรอบ
                                2. ใช้สารก าจัดแมลงประเภทดูดซึม ได้แก่คาร์โบฟูราน (carbofuran) เช่น ฟูราดาน หรือ
                  คูราแทร์ หว่านที่ระดับลึก 5 เซนติเมตรจากผิวดิน และคลุกเคล้าให้ทั่วในอัตรา 150 กรัมต่อแปลงเพาะกล้า
                  และใช้รองก้นหลุมในขณะย้ายปลูกโนอัตรา 2 กรัมต่อต้น

                                3. ฉีดพ่นสารก าจัดแมลงอย่างสม่ าเสมอ เช่น ไดเม็ทโธเอท (dimethoate) โมโนโครโตฟอส
                  (monocrotophos) หรือ ไดซัลโฟตอน (disulfoton) แปลงเพาะกล้าฉีดประมาณ 5 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อต้นกล้างอก
                  ครั้งต่อไปทุก 7 วัน และครั้งสุดท้ายก่อนถอนต้นกล้า ส่วนในไร่จะเริ่มฉีดพ่นเมื่อต้นยาสูบตั้งตัวแล้ว และทุกๆ

                  10 วัน การฉีดพ่นที่ให้ผลดีควรท าในตอนเย็น
                             เพลี้ยอ่อนยาสูบ (green peach aphid; Myzus persicae Sulzer)

                             โดยทั่วไปเพลี้ยอ่อนจะเกาะกันเป็นกลุ่มดูดน้ าเลี้ยงบริเวณยอดพบกระจายอยู่ทั่วไร่ ท าให้
                  ใบซีดเหลือง และเหี่ยวเมื่ออากาศร้อนจัด ต้นยาสูบจะชะงักการเจริญเติบโต นอกจากนี้มูล (honey dew)
                  ของเพลี้ยอ่อนมีน้ าตาลเป็นองค์ประกอบ ท าให้เกิดราด า (sooty mold) พบเสมอทั้งในแปลงเพาะกล้าและ

                  ในไร่ มีพืชอาศัยหลายชนิด
                             การแพร่กระจาย : ระบาดมากประมาณเดือนธันวาคมถึงเดือนเมษายน โดยตัวแก่ที่มีปีก
                  ซึ่งเกาะดูดพืชชนิดอื่นในบริเวณข้างเคียง จะบินเข้ามาดูดกินน้ าเลี้ยงต้นยาสูบ และขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว







                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223