Page 217 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 217

ผก-13




                             การป้องกันก าจัด : ควรใช้หลายวิธีร่วมกัน เนื่องจากท าการป้องกันก าจัดได้ยาก วิธีการที่ใช้

                   มีดังนี้
                                1. ท าลายวัชพืชรอบแปลงเพาะหรือไร่ยาสูบ เพื่อก าจัดแหล่งอาศัย
                                2. หลังจากเก็บใบยาสด ขุดต้นยาสูบรวมทั้งรากน าไปเผาท าลาย

                                3. หลังจากเก็บใบยาเสร็จ ไถเพื่อพลิกดินตากแดด
                                4. ปลูกพืชหมุนเวียนที่ไม่ใช่พืชอาศัยของไส้เดือนฝอย เช่น ข้าว งา มันส าปะหลัง และถั่วลิสง
                  โดยเฉพาะข้าวที่ต้องทดน้ าขังในนา จะช่วยก าจัดตัวอ่อนของไส้เดือนฝอยได้เป็นอย่างดี
                                5. ปลูกพืชคลุมดินที่ปล่อยสารพิษต่อไส้เดือนฝอย เช่น ดาวเรืองแอฟริกัน ซึ่งมีสารพิษ 2-
                  terthienyl

                                6. อบดินเพื่อฆ่าไส้เดือนฝอย ด้วยสารเมธิล โบรไมด์ วิดเดนดี ไดโบรโมคลอโรโพรเพน
                  (dibromochloropropane) เทโลน ซี 17 ไตรโชน เมแทมโซเดียม เทโลนทู หรือ วอร์เลซ

                             โรคที่เกิดจากการขาดธาตุอาหาร (minerals deficiency)
                             สาเหตุ : การขาดธาตุไนโตรเจน (nitrogen deficiency)

                             อาการ : พบทุกระยะการเจริญเติบโต อาการโดยทั่วไปจะคล้ายกับการเข้าท าลายของไส้เดือน
                  ฝอย หรือการขาดน้ าเป็นระยะเวลานาน โดยในระยะแรกจะสีเขียวจางลง โดยเฉพาะใบยาสูบส่วนล่างของ
                  ต้น มีลักษณะ แก่ก่อนก าหนด คือ ใบมีสีเหลือง ต่อมาจะแห้งหรือไหม้ร่วงหลุดจากต้น จ านวนใบลดลง ท าให้
                  ต้นยาสูบชะงักการเจริญเติบโต ต้นแคระแกร็น มีล าต้นและใบเล็กกว่าปกติ และออกดอกช้า ถ้ามีการขาด

                  ธาตุไนโตรเจนรุนแรงใน ระยะออกดอก จะท าให้มีจ านวนเมล็ดลดลง และใบยาแห้งที่บ่มแล้วมีขนาดเล็ก
                             สาเหตุ : การขาดธาตุฟอสฟอรัส (phosphorus deficiency)
                             อาการ : ที่เห็นได้ชัดคือ การเจริญเติบโตช้า การสุกแก่ล่า ใบสีเขียวเข้ม ใบแคบ อาจมีจุดเล็กๆ
                  ที่ใบ และใบท ามุมแคบกับล าต้น คุณภาพของใบยาที่บ่มแล้วจะต่ าลง สีน้ าตาลเข้ม เขียวคล้ า หรือด า อาการจะสังเกต

                  ได้ชัดโดยเฉพาะยาสูบเบอร์เลย์ที่เก็บล่าช้า
                             สาเหตุ : การขาดธาตุโพแทสเซียม (potassium deficiency)
                             อาการ : มักพบอยู่เสมอเนื่องจากยาสูบมีความต้องการธาตุนี้ค่อนข้างสูงมาก เริ่มแสดงอาการ

                  จากใบส่วนล่างของล าต้น โดยปลายใบและขอบใบสูญเสียสีเขียว ม้วนงอ ต่อมาเนื้อใบตายเป็นแผลแห้ง
                  สีน้ าตาลเข้ม ทั้งสองข้างของใบ โดยส่วนภายในยังคงสีเขียวเข้ม เมื่อแผลแห้งจะท าให้ใบมีลักษณะขาดเป็น
                  ส่วนเล็ก ๆ ต่อมาจะแสดงอาการที่ใบส่วนบนด้วย ต้นยาสูบที่ขาดธาตุนี้จะไม่สามารถเก็บใบยาในส่วนล่าง ใบ
                  ยาที่บ่มแล้วขนาดเล็กลง เนื้อใบฉีดขาด สีไม่ดี ไม่มีรูปร่างใบ ความยืดหยุ่น และกลิ่น ตลอดจนการติดไฟต่ า
                             สาเหตุ : การขาดธาตุแมกนีเซียม (magnesium deficiency)

                             อาการ : สังเกตได้ชัดในไร่ยาสูบที่ก าจัดยอดแล้ว เนื่องจากใบยาสูบมีขนาดใหญ่ โดยมีใบสีซีด
                  เนื่องจากขาดคลอโรฟิลล์  จากใบส่วนล่างไปยังส่วนบน และจากปลายและขอบใบไปยังกลางใบ ถ้าขาด
                  อย่างรุนแรง อาจมีสีเกือบขาว โดยเส้นกลางใบและเส้นใบยังคงสีเขียวเป็นปกติ คุณภาพใบยาแห้งต่ า








                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222