Page 165 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 165

3-85





                  ตารางที่ 3-27  การเชื่อมโยงกลยุทธ์กับวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์การผลิตยาสูบ


                                 กลยุทธ์                           วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์

                   1 ช่วงชิงตลาด                        1.1 การบริหารช่องทางการจ้าหน่าย Traditional Trade
                                                        1.2 การบริหารช่องทางการจ้าหน่าย Modern Trade
                                                        1.3 การตลาดด้านราคาและผลิตภัณฑ์


                   2 ควบคุมค่าใช้จ่าย                   2.1 การบริหารและควบคุมต้นทุนการผลิต
                                                        2.2 การจัดการสิ่งแวดล้อมและการบริหารโรงงานผลิต
                                                        ยาสูบแห่งใหม่


                   3 พัฒนาและต่อยอดธุรกิจ               3.1 การพัฒนาธุรกิจยาเส้น
                                                        3.2 การพัฒนาธุรกิจยาสูบสู่ต่างประเทศ
                                                        3.3 การขยายสู่ธุรกิจอื่นเพื่อเพิ่มรายได้จากธุรกิจหลัก

                   4 บริหารสู่ความยั่งยืน               4.1 การบริหารเทคโนโลยีดิจิทัล

                                                        4.2 การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารองค์กร


                  ที่มา : การยาสูบแห่งประเทศไทย (2561)

                  3.4   ศักยภาพ โอกาส และข้อจ ากัด ในการผลิตและการตลาด

                        3.4.1 จุดแข็ง
                             1) การปลูกยาสูบตามโควตาของโรงงานยาสูบ มีระบบสัญญาข้อตกลงท้าให้ราคามี
                  เสถียรภาพ

                             2) ประเทศไทยมีพื นที่ที่มีศักยภาพเหมาะสมในการปลูกยาสูบ
                             3) ยาสูบ เป็นพืชที่ต้องการน ้าแต่เป็นพืชที่ใช้ปริมาณน ้าช่วงฤดูแล้งไม่มากเกินไป หรือสามารถ
                  สูบน ้าบาดาลหรือน ้าจากแหล่งน ้าธรรมชาติมาใช้ได้
                             4) สามารถควบคุมและจัดการการผลิตใบยาได้เพียงพอตามปริมาณโควตาของบริษัท และ
                  ส้านักงานการยาสูบแห่งประเทศไทย

                             5) การปลูกยาสูบ การขายผลผลิตยาสูบ มีกฎหมายควบคุมชัดเจน
                             6) ยาสูบ เป็นพืชเศรษฐกิจที่สร้างความมั่นคงด้านรายได้แก่เกษตรกร หลังฤดูเก็บเกี่ยวพืชหลัก
                  เป็นพืชเศรษฐกิจ ที่การยาสูบแห่งประเทศไทย มีนโยบายส่งเสริมเกษตรกรชาวไร่ยาสูบตลอดกระบวนการ

                  ตั งแต่เริ่มการเพาะปลูก ตลอดจนรับซื อใบยาในราคาที่เป็นธรรม จนหลังเสร็จสิ นกระบวนการ
                             7)  สายพันธุ์ของยาสูบ สามารถน้ามาปลูกตรงกับสภาพพื นที่ได้เป็นอย่างดี เช่น ภาค
                  ตะวันออกเฉียงเหนือจะเป็นสายพันธุ์เตอร์กิช ที่ปลูกได้ดีและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้ง ชอบ
                  ลักษณะดินร่วนปนทราย ส่วนบริเวณภาคเหนือ ภาคกลางจะเป็นพันธุ์เบอร์เลย์ และเวอร์ยิเนีย











                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170