Page 161 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 161

3-81





                  และมีคุณภาพที่ดี คุ้มค่าในการลงทุน เกิดการพัฒนาในเชิงเศรษฐกิจ พัฒนาไปสู่ระบบการเกษตรที่ยั่งยืน

                  และมีความรับผิดซอบต่อสังคม โดยมีแนวปฏิบัติ คือ
                                     (1) มีการคัดเลือกและประเมินคุณสมบัติตามข้อก้าหนดจ้าเป็นที่เกี่ยวข้องกับการ
                  เพาะปลูกใบยาสูบ รวมทั งการจัดสรรโควตาการผลิต/การรับซื อใบยาจากเกษตรชาวไร่ยาสูบ/ผู้บ่มอิสระ

                  ให้เป็นไปอย่างโปร่งใสและเป็นธรรม
                                     (2) ส่งเสริมการเพาะปลูกใบยาตามแนวทาง GAP ของ CORESTA เพื่อให้การผลิต
                  ใบยาของการยาสูบแห่งประเทศไทยเป็นไปตามคุณภาพที่ก้าหนด และเป็นไปตามมาตรฐานที่ยอมรับของ
                  ตลาดใบยาระดับสากล โดยมีการส่งเสริมในแนวทางต่างๆ คือ 1. การจัดการดินและน ้า 2. ความสมบูรณ์
                  ของพันธุ์และการคัดเลือกพันธุ์ 3. การจัดการการเพาะปลูก 4. การจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน

                  5. การจัดการสารเคมีทางการเกษตร 6. การอนุรักษ์ธรรมชาติด้านป่าไม้ 7. การจัดการการบ่มใบยา
                  8. การเก็บรักษาใบยา 9. สิ่งแปลกปลอมที่ไม่ใช่ยาสูบ/วัตถุปลอมปน 10. การฝึกอบรมชาวไร่ 11. ผลของ
                  เศรษฐกิจและสังคม

                                     (3) พัฒนาความรู้และให้ความช่วยเหลือในการเพาะปลูกใบยา ตรวจติดตามและ
                  เยี่ยมเยียนเกษตรชาวไร่ยาสูบ อย่างสม่้าเสมอ เพื่อส่งเสริมการเพาะปลูกใบยาให้เป็นไปตามมาตรฐาน
                  และมีคุณภาพตามที่ก้าหนด
                                     (4) ก้าหนดระเบียบในการจัดหาและรับซื อใบยาสูบที่ชัดเจน ด้าเนินการตาม

                  เงื่อนไขในระเบียบข้อก้าหนด และข้อตกลงที่ท้าไว้กับชาวไร่ยาสูบ/ผู้บ่มอิสระอย่างตรงไปตรงมา
                                     (5) จัดให้มีช่องทางการร้องเรียน การรับฟังความเห็น การส้ารวจความต้องการ
                  ความคาดหวัง ข้อกังวล ข้อเสนอแนะและด้าเนินการแก้ไขปัญหาด้วยความถูกต้อง รวดเร็ว

                        3.3.2 ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
                             1) แผนยุทธศาสตร์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2561)

                  ประกอบด้วยยุทธศาสตร์ต่างๆ ดังนี
                                1.1) ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
                                     (1) ขยายผลการท้าการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                                     (2) เสริมสร้างความภาคภูมิใจ และความมั่นคงในการประกอบอาชีพเกษตรกร

                                     (3) ส่งเสริมการท้าเกษตรกรรมยั่งยืนให้เห็นผลในทางปฏิบัติ
                                     (4) พัฒนาองค์ความรู้ของเกษตรกรสู่เกษตรกรมืออาชีพ
                                     (5) สร้างความเข้มแข็งและเชื่อมโยงเครือข่ายของเกษตรกร และสถาบันเกษตรกร
                                1.2) ยุทธศาสตร์ที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน

                                     (1) ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานรองรับความต้องการของตลาด
                                     (2) ส่งเสริมการบริหารจัดการโซ่อุปทานสินค้าเกษตร
                                     (3) เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร

                                     (4) จัดตั งศูนย์กลางและพัฒนาระบบตลาดสินค้าเกษตร
                                     (5) เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารอย่างยั่งยืน
                                     (6) สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน
                                     (7) สนับสนุนการจัดการความเสี่ยงที่จะกระทบต่อพืชผลทางการเกษตร





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166