Page 159 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ
P. 159

3-79





                              4.6) พัฒนาปัจจัยสนับสนุนในการบริหารจัดการภาคเกษตรและสนับสนุนเกษตรกรรุ่นใหม่

                  โดยพัฒนาฐานข้อมูลด้านอุปสงค์และอุปทานด้านการเกษตร สร้างบุคลากรด้านการเกษตร โดยการผลิต
                  เกษตรกรรุ่นใหม่ที่มีความรู้ความสามารถในการยกระดับการผลิต แปรรูป การตลาด และการบริหาร
                  จัดการ พร้อมทั งปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรให้ทันสมัย

                            5) นโยบายพัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
                              นโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และแนวทางการด้าเนินงานปีงบประมาณ
                  พ.ศ. 2561-2562 มุ่งหวังให้เกิดการขับเคลื่อนภาคเกษตรกรรมให้เดินหน้าต่อไปได้ โดยมีนโยบาย โดย
                  เป้าหมายการท้างาน คือ เกษตรกรเป็นศูนย์กลาง และการท้างานทุกระดับจะต้องมีผู้รับผิดชอบชัดเจน
                  รวมทั งให้ความส้าคัญต่อการขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติ โดยมีรายละเอียดดังนี

                                5.1) ลดต้นทุนการผลิต โดยการบูรณาการร่วมกัน ก่อให้เกิดกิจกรรมการลดต้นทุนการผลิต
                  ให้แก่เกษตรกร
                                5.2) จัดท้าฐานข้อมูลเกษตรกรที่ครอบคลุม สามารถน้าไปแก้ปัญหาและการช่วยเหลือ

                  เกษตรกรในกรณีต่างๆ ได้ เช่น ด้านหนี สินเกษตรกร ด้านอาชีพ ด้านสถิติต่างๆ ของภาคเกษตรกรรม
                  เชื่อมโยงกับภาคส่วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการตามนโยบาย ซึ่งได้มอบหมาย
                  ให้หน่วยงานที่มีระบบฐานข้อมูลเกี่ยวกับเกษตรกรเร่งหารือในการบูรณาการฐานข้อมูลให้เกิดเป็น
                  เอกภาพ และสามารถน้าไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง

                                5.3) การจัดหาแหล่งน ้าเพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้ง 2561-2562 หน่วยงานทั งในส่วนกลาง
                  และส่วนภูมิภาค ต้องรู้สถานการณ์ปัจจุบันอย่างชัดเจนและคาดการณ์แนวโน้มที่อาจเกิดขึ น พร้อมทั ง
                  เตรียมหามาตรการรองรับสภาพปัญหาต่างๆ ได้ทันท่วงที รวมทั งต้องมีการวางแผนแก้ไขปัญหาในระยะยาว
                  ซึ่งที่ผ่านมากระทรวงได้ท้าอยู่แล้ว รวมทั งการท้าฝนหลวงเพื่อเพิ่มปริมาณน ้า และในฤดูแล้งที่จะมาถึงนี

                  จะต้องมีการหาแหล่งน ้าให้เกษตรกรเพิ่มเติม และมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรต่างๆ ต้องด้าเนินการ
                  อย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ สื่อสารให้เกษตรกรเข้าใจ รู้จักการใช้น ้าอย่างมีประสิทธิภาพ
                                5.4) การส่งเสริมเกษตรอินทรีย์เป็นโอกาสในการเพิ่มมูลค่าผลผลิตให้กับเกษตรกร
                  และผู้บริโภคจะได้บริโภคสินค้าที่มีความปลอดภัย ซึ่งมอบหมายให้หน่วยส่วนที่เกี่ยวข้องวางแผนและ

                  ขับเคลื่อนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ให้เกิดผลเป็นรูปธรรมโดยเร็ว
                                    ส้าหรับงานที่ต้องด้าเนินการต่อเนื่อง มีการผลักดันให้มีการท้าการเกษตรให้
                  เหมาะสมกับพื นที่ ปัจจัยการผลิต และความต้องการของตลาด พัฒนาผลผลิตการเกษตรให้มีคุณภาพ

                  ได้มาตรฐาน มีสุขภาพอนามัยในระดับสากล ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการให้เหมาะสม
                  ปรับปรุงรัฐวิสาหกิจ ให้มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ก้าหนดมาตรการในการตรวจสหกรณ์ที่จริงจัง
                  รวมทั งเร่งรัดแก้ปัญหาหนี สินเกษตรกร
                                    งานเพื่อความยั่งยืน มีการเร่งผลักดันงานวิจัยสนับสนุนเพื่อลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต
                  ตรงตามความต้องการของตลาด การก้าหนดเขตการปลูกพืชที่มีผลผลิตตรงกับความต้องการทั งปริมาณ

                  และคุณภาพ จัดหาแหล่งน ้าที่เพียงพอต่อ พัฒนาสหกรณ์ให้มีความเข้มแข็งรวมกลุ่มสมาชิกดูแล
                  ช่วยเหลือด้านปัจจัยการผลิต รวมทั งการฟื้นฟูโครงการตามแนวพระราชด้าริ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมใน
                  การดูแล ทั งนี  ส้านักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด จะเป็นกลไกส้าคัญในการน้านโยบายของรัฐไปสู่การ

                  ปฏิบัติในพื นที่ น้าผลประโยชน์สู่เกษตรกรอย่างทั่วถึง โดยเป็นแกนหลักในการบูรณาการหน่วยงานของ





                  เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจยาสูบ                               กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164